Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์และได้รับการผ่าตัดคลอด, น…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์และได้รับการผ่าตัดคลอด
ภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ :star:
Preterm Labor
ความหมาย
การคลอดที่อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
สาเหตุ
มีความเครียด
เกิดโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ของหญิงตั้งครรภ์รายนี้ :<3:
อายุ 36 ปี
GDM
มารดามีอายุน้อยกว่า 18 ปี หรือ มากกว่า 35 ปี
Fetal distress
ภาวะที่ทารกในครรภ์มีความเสี่ยงต่อ
การเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจน
สาเหตุ
ภาวะรกลอกตัวก่อนกําหนด
มารดาเป็นโรคเบาหวาน
สายสะดือถูกกดขณะที่มดลูกมีการหดรัดตัว
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ของญิงตั้งครรภ์รายนี้ :<3:
มีภาวะความดันโลหิต
สูงขณะตั้งครรภ์
ตรวจ NST
ผล
fetal movement ลดลง
NST non reactive
แปลว่า ตรวจไม่พบการเปลี่ยนแปลงของ
อัตราการเต้นของหัวใจของทารกขณะ
ที่มีการเคลื่อนไหว หรือไม่พบการเคลื่อนไหวของทารก
ในระยะเวลา 40 นาที
severe pre - eclampsia
อาการและอาการแสดง
ของหญิงรายนี้ :<3:
ปวดศรีษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นใต้ลิ้นปี่ และตรวจพบความดันโลหิตสูง 180/110-190/117 mmHg ร่วมกับมีอาการบวมบริเวณขาทั้ง 2 ข้าง 2+ พบโปรตีนในปัสสาวะ 2+
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ
ALT (SGPT) Alk Phosphatase
และ AST(SGOT) สูง
ปัจจัยที่อาจเกี่ยวข้อง
ข้อมูลจากการซักประวัติ
ยังไม่สามารถบอกถึงสาเหตุได้
ผลกระทบ
ทารก
ทารกโตช้าผิดปกติ
คลอดก่อนกำหนด
เสียชีวิตในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
คลอดก่อนกำหนด
GDM
ความหมาย
โรคเบาหวานที่วินิจฉัยขณะตั้งครรภ์โดยที่หญิงตั้งครรภ์
ไม่เคยเป็นเบาหวานมาก่อนและจะหายไปภายหลังจากการคลอด
การทดสอบ
การทนต่อกลูโคส
GCT และ OGTT
ผลการตรวจ
GCT
156 มก./ดล.
ผลตรวจอยู่ในเกณฑ์ผิด
OGTT
hr.ที่ 1
201 มก./ดล
hr.ที่ 2
178 มก./ดล
hr.ที่ 0
99 มก./ดล.
hr.ที่ 3
138 มก./ดล
แปลผล :<3:
ผลการตรวจอยู่ในเกณฑ์ผิดปกติ
และเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ Class A1
ระดับกลูโคสเกินเกณฑ์ปกติ 2 ค่า คือชั่วโมงที่ 1
และชั่วโมงที่ 2
ปัจจัยเสี่ยงของ
หญิงตั้งครรภ์รายนี้ :<3:
มีประวัติครอบครัวเป็นโรคเบาหวาน
ดัชนีมวลกายสูงทั้งก่อน
และระหว่างตั้งครรภ์
29.3
หญิงตั้งครรภ์มีอายุมากกว่า 35 ปี
ผลกระทบ
ทารก
ขาดออกซิเจน
มารดา
PIH
คลอดก่อนกำหนด
hyperglycemia
การตรวจพิเศษ :star:
NST
ที่พบในหญิงตั้งครรภ์รายนี้
fetal movement ลดลง
ผล NST non reactive
แปผล ตรวจไม่พบการเปลี่ยนแปลงของอัตรา
การเต้นของหัวใจของทารกขณะที่มีการเคลื่อนไหว
หรือไม่พบการเคลื่อนไหวของทารกในระยะเวลา 40 นาที
การทนต่อกลูโคส
GCT
156 มก/ดล.
แปลว่าผลตรวจอยู่ในเกณฑ์ผิดปกติ
แพทย์จึงนัดทำการทดสอบ OGTT ในอีก 1 สัปดาห์
OGTT
ชั่วโมงที่ 0 ได้ค่า 99 มก./ดล.
ชัวโมงที่ 1 ได้ค่า 201 มก./ดล
ชัวโมงที่ 2 ได้ค่า 178 มก./ดล
ชัวโมงที่ 3 ได้ค่า 138 มก./ดล.
ระดับกลูโคสเกินเกณฑ์ปกติ 2 ค่า
คือชั่วโมงที่ 1 และชั่วโมงที่ 2
แปลผลว่า ผลการตรวจอยู่ในเกณฑ์ผิดปกติ
และเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ Class A1
ultrasound
ที่พบในหญิงตั้งครรภ์รายนี้
ปริมาณน้ำคร่ำ AFI 10.3
ท่าของทารกในครรภ์ ROA
ไตรมาส 3
GA 36 สัปดาห์ 5 วัน
PIH :star:
ขนิดของ PIH ในหญิงตั้งครรภ์รายนี้ :<3:
ชนิด Severe pre-eclampsia
อาการและอาการแสดงตามทฤษฎี
มีอาการ ปวดศีรษะ การมองเห็นผิดปกติ จุกแนนลิ้นปujหรือ
ปวดท้องด้านขวาใต้ชายโครง คลื่นไส้อาเจียน
ปัสสาวะออกน้อย 500 ml ใน 24 ชั่วโมง
หรือ serum creatinine> 1.4 mg%
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ5 g/l หรือ 3-4+
AST/ALT สงูกว่า70 IU/L หรือเพิ่มขึ้นจากเดิม 2 เท่า
ความดันเลือดสูงตั้งแต่ 160/110
mmHg ขึ้นไป
platelet count < 140,000 cell /mm3
อาการและอาการแสดงของ
หญิงตั้งครรภ์รายนี้ :<3:
ความดันโลหิตมีค่าอยู่ที่ระหว่าง
180/110-190/117 mmHg
PA
ปวดศีระษ ตาพร่ามัว จุกแน่นใต้ลิ้นปี่
ผลทางห้องปฏิบัติการ
โปรตีนในปัสสาวะ3+
serum creatinine 1.4 mg%
AST 306IU/L
ALT)371IU/L
platelet count=139,000cell /mm3
ผลกระทบ
มารดา
ของหญิงตั้งครรภ์รายนี้ :<3:
ปวดลิ้นปี่
คลอดก่อนกำหนด
ตาพร่ามัว
ทารก
เจริญเติบโตช้า
ขาดออกซิเจน
คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักตัวน้อย
ยาที่ได้รับ :star:
morphine 3 mg IV q 4 hr.
Plasil 10 mg IV prn q 6 hr.
Transamine 250 mg IV q 6 hr.
Pethidine 30 mg IV prn q 4 hr.
Cefazolin 1 gm IV q 6 hr. 4 dose
Triferdine 1 tab oral od.pc
xytocin 20 U+ 5% D/N/2 1,000 ml IV drip rate 40 ml/hr
FBC(ferlo-B-cal) 1 tab oral bid.pc
10% MgSO4 5 gm IV push slowly in 15 mins then 50% MgSO4 10 gm+ 5%D/W 1,000ml IV drip rate 100 ml/hr
Tramol 1 tab oral tid.pc
Hydralazine 5 mg IV stat
Cephalexine 1 tab oral tid.pc ,hs
การคลอดผิดปกติ :star:
C/S
ข้อบ่งชี้ตามทฤษฎี
ข้อบ่งชี้ชนิดสมบูรณ์
(Absolute indications)
ต้องทําผ่าตัดอย่างแน่นอน
ถ้าปล่อยให้คลอดเองจะมีอันตราย :red_cross:
หลังการซ่อมแซมปากมดลูกหรือผนังช่องคลอดจาก Urinary stress incontinence genitourinary fistula
กระดูกเชิงกรานหักหรือความผิดปกติของช่องคลอด
Fetal distress
รกเกาะต่ําโดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดปิดหมด
(placenta Previa Totalis)
Prolapsed Cord
การคลอดติดขัด (Mechanical dystocia)
CA Cervix
ข้อบ่งชี้โดยอนุโลม
(Relative indications)
ตกเลือดก่อนคลอด
ท่าผิดปกติ
เป็นแผลเป็นที่ผนังมดลูก
โรคแทรกซ้อนทางสูติกรรม
อาจจะผ่าตัดหรืออาจจะคลอดทางช่องคลอดได้ แล้วแต่สภาพของมารดาหรือทารกว่าจะมีอันตรายมากน้อยแค่ไหน :red_cross:
ครรภ์แฝดที่ทารกไม่ได้อยู่ในท่าหัวทั้งคู่
ทารกเสี่ยงต่อภาวะ Fetal distress
การคลอดล่าช้า
ภาวะอื่นๆ
ชนิด
Classical Caesarean Section
Lower Cervical Caesarean Section
Caesarean Hysterectomy
Extraperitoneal Caesarean Section
ของหญิงตั้งครรภ์รายนี้ :<3:
ข้อบ่งชี้
ข้อบ่งชี้โดยอนุโลม
(Relative indications)
ทารกเสี่ยงต่อภาวะ
Fetal distress
NSTพบว่า NST NON Reactive
Fetal movement ลดลง
โรคแทรกซ้อนทางสูติกรรม
กิดภาวะ HELLP
มีภาวะของ severe pre eclampsia
ชนิด
Low cervical caesarean section
วางแผนการพยาบาล :star:
ระยะที่ 1 ของการคลอด
อาจเกิดภาวะชักเนื่องจากภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
อาจเกิดผลข้างเคียงจากได้รับยา magnesium sulfate
เตรียมผ่าตัดคลอด
มารดาพร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัดคลอด
ทารกเกิดภาวะ Fetal distress
เนื่องจากผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด
เนื่องจากสัมพันธ์กับความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ทารกเสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
เนื่องจากมารดามีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ระยะหลังคลอด
เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อในระยะหลังผ่าตัดคลอด
เนื่องจากมีแผลบริเวณหน้าท้องและโพรงมดลูก
ปวดเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บจากการผ่าตัด
มารดาอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะชักหลังคลอด
เนื่องจากมีความสัมพันธ์กับความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ผู้คลอดมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการของบุตร เนื่องจากบุตรต้องแยกไปสังเกตอาการที่หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ทารกอาจเกิดภาวะ Hypothermia เนื่องจากการแรกคลอดศูนย์ควบคุมอุณหภูมิยังทำงานได้ไม่สมบูรณ์
อาจเกิดการติดเชื้อในร่างกายเนื่องจาก
ระบบภูมิต้านทานยังทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์
คำแนะนำก่อนกลับบ้าน :star:
มารดา
แนะนำมารดาให้ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้แผลถูกน้ำ ไม่ใช้มือจับ แกะ เกาแผล และสังเกตสิ่งคัดหลั่งที่ออกมาจากแผล
แนะนำมารดาให้มาตรวจตามนัด หากมีอาการผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์
แนะนำมารดาสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องรีบมาพบแพทย์ ได้แก่ อาการปวดจุกแน่นใต้ลิ่นปี่ หายใจไม่สะดวก ตาพร่ามัว ปวดศีรษะ อาการแสดงของการติดเชื้อหลังคลอด เช่น มีไข้ ปวดบริเวณแผลผ่าตัดมาก แผลมีหนอง มีสารคัดหลั่งซึม น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
แนะนำให้มารดารับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ผักผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง
กระจายมื้ออาหาร งกรับประทานอาหารคาร์โบไฮเตรตสูง รับประทานอาหารโปรตีนสูฃ
แนะนำมารดาสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องรีบมาพบแพทย์ ได้แก่ อาการปวดจุกแน่นใต้ลิ่นปี่ หายใจไม่สะดวก ตาพร่ามัว ปวดศีรษะ อาการแสดงของการติดเชื้อหลังคลอด เช่น มีไข้ ปวดบริเวณแผลผ่าตัดมาก แผลมีหนอง มีสารคัดหลั่งซึม น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
แนะนำไม่ให้มารดาซื้อยามารับประทานเอง
เพราะยาบางชนิดสามารถผ่านทางน้ำนมไปสู่ทารกได้
ทารก
ส่งเสริมให้เลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
แนะนำให้มารดาพาทารกไปรับวัคซีนให้ครบตามวัย
แนะนำให้มารดาพาทารกมาตรวจตามนัดหาก
มีอาการผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์
สอนให้มารดาเช็ดตัวลดไข้ทารก เมื่อทารกรกมีไข้สูง
สอนมาดาบีบนมเก็บไว้ อุ้มท่าบุตร
แนะนำไม่ให้มารดาพาทารกไปแหล่งชุมชนห้างสรรพสินค้า ตลาด ที่ที่มีคนจำนวนมาก หรือคลุกคลีกับบุคคลอื่นที่มีโรคระบบทางเดินหายใจ
แนะนำไม่ให้มารดาซื้อยามาให้ทารกรับประทานเอง
น.ส.มาริษา คงจันทร์ รุ่น 36/2 เลขที่ 16
รหัส 61111301096