Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต
ผู้ที่มีภาวะสูญเสีย/ทุกข์โศก (Loss and Grife)
ความหมายของความทุกข์โศก (Grief)
Grief ความรู้สึกเสียใจ (Sad) ที่ เกิดขึ้น เมื่อคาดว่า จะมีการสูญเสียหรือรับรู้ว่า ตนเองสูญเสีย เป็นปฏิกิริยาตอบสนองที่ แสดงออกทั้งทางสรีระ และอารมณ์
Mourning กระบวนการของการแสดงออก ตลอดช่วงที่บุคคลมีอารมณ์ที่เกิด จากการสูญเสีย
Bereavement ช่วงระยะเวลาในกระบวนการทุกข์โ ศก นับตั้งแต่เริ่มทุกข์โ ศกไปจนกระทั่งปรับตัว กลับคืนสู่ภาวะปกติทางสังคมได้ ส่วนใหญ่ ใช้เวลาไม่เกิน 1 ปี
กระบวนการทุกข์โศก
กระบวนการทุกข์โศกปกติ (Normal grief response)
ระยะแรก ระยะเฉียบพลัน อยู่ในช่วง 4-8 สัปดาห์แรก
เป็นช่วงอารมณ์ที่ไม่สามารถยอมรับการสูญเสียได้ จะแสดงอาการช็อคและไม่เชื่อ มักเริ่มปฏิเสธ เพื่อลดความรู้สึกเจ็บปวดและชะลอเวลา ในการรับรู้ความเป็นจริง อาจใช้เวลา 2-3 ชั่วโมงจนถึงหลายวัน
เมื่อกลไกการปฏิเสธเริ่มลดลง ความรู้สึกเจ็บปวดจะเกิดขึ้นรุนแรงตามระดับความสำคัญ ของสิ่งที่สูญเสีย อีกลักษณะอารมณ์ที่พบบ่อยคือ ความโกรธ อาจแสดงความไม่พึงพอใจ กล่าวโทษผู้ใกล้ชิด ผู้ช่วยเหลือ หรือแม้แต่ตนเอง
ระยะที่สอง ระยะเผชิญกับการสูญเสีย ใช้เวลาประมาณ 1-2 ปี
ปรากฏการณ์ที่สามารถพบได้คือความรู้สึกผิดปกติทางกาย ความหมกมุ่นอยู่กับสิ่งของที่ เป็นสัญลักษณ์ มักแยกตัว พฤติกรรมช่วงนี้ จะพบในระยะ 20-60 วันแรก
กระบวนการทุกข์โศกผิดปกติ (Maladaptive grief response)
ปฏิกิริยาทุกข์โศกล่าช้า (Delayed reaction) คือไม่สามารถแสดงความเศร้าโศก ออกมาทั้งในด้านพฤติกรรมและอารมณ์ ทาให้กระบวนการทุกข์โศกไม่เริ่มต้นหรือไม่สิ้นสุด
แสดงปฏิกิริยาที่ผิดปกติ (Distorted reaction) เมื่อไม่สามารถปรับตัวให้เป็นไปตามกระบวนการทุกข์โศกได้ ทาให้เกิดความรู้สึกที่รุนแรง ขึ้นที่พบบ่อยที่สุดคือซึมเศร้า
มีเศร้าโศกยาวนาน (Prolonged grief)
คือมีความคิดหมกมุ่นเกี่ยวกับความทรงจา เก่า ๆ ไม่สามารถขจัดความรู้สึกหม่นหมอง เสียใจจากการสูญเสียไปได้เป็นเวลาหลายปี
a model of five stages ของ คูเบลอร์- รอสส์ (Kubler-Ross) ส่วนใหญ่ใช้เวลาประมาณ 6-8 สัปดาห์ แต่อย่างไรก็ตามปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นนี้ไม่ควรนานเกิน 6- 12 เดือน มิฉะนั้นจะกลายเป็นภาวะซึมเศร้า
การต่อรอง (Bargaining) บุคคลจะพยายามต่อรองที่จะไม่ต้อง เกิดการสูญเสีย
ภาวะซึมเศร้า (Depression) เมื่อรู้แน่ ชัดแล้วว่าภาวะสูญเสียเกิดขึ้นกับตนเองแน่ แล้ว จะรู้สึกหมดหวัง หดหู่เบื่อหน่าย
การพยาบาลในระยะซึมเศร้า
พยาบาลยังคงเปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึกโศกเศร้า อาจใช้สัมผัสเพ่อื ให้กำลังใจ
ประเมินความคิดอยากทำร้ายตนเองหรือความคิดฆ่าตัวตาย เพื่อให้การช่วยเหลือหรือส่งต่อ
จิตแพทย์
ช่วยหาแหล่งสนับสนุนทางสังคมหรือหาสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
นอกจากนี้ควรให้การดูแลด้านร่างกายในเรื่องสุขอนามัย
โกรธ (Anger) ผู้อยู่ในภาวะสูญเสียจะรู้สึก โกรธ และแสดงความโกรธออกมา เขาจะรู้สึกว่าไม่เป็นธรรมที่ภาวะสูญเสียจะต้องมาเกิดขึ้นกับเขา
การพยาบาลในระยะโกรธและระยะต่อรอง
เปิดโอกาสให้พูดระบายความรู้สึก โดยรับฟังอย่างสงบและตั้งใจ และติดตามประเมินอย่างต่อเนื่อง
ให้แสดงท่าทีที่เคารพ และให้เกียรติในการแสดงความคิดของผู้สูญเสีย
พยาบาลต้องยอมรับและเข้าใจในพฤติกรรมของผู้สูญเสีย ไม่แสดงอารมณ์โกรธโต้ตอบ
ยอมรับ (Acceptance) ขั้นนี้บุคคลจะยอมรับในภาวะสูญเสียที่ เกิดขึ้นและภาวะ ซึมเศร้าจะหายไป
การพยาบาลในระยะยอมรับ
พยาบาลควรเปิดโอกาสให้ผู้สูญเสียได้เล่าถึงความทรงจำที่ดี สนับสนุนเสริมแรงแก่ผู้สูญเสีย ให้ผู้สูญเสียได้วางแผนสำหรับการดำเนินชีวิตในอนาคตด้วยตนเอง
ส่งเสริมการร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยให้จิตใจสงบและผ่อนคลายตามความสนใจ
แนะนำให้ญาติพี่น้องมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูญเสียร่วมด้วย
ปฏิเสธ (Denial) เป็นความรู้สึก ช็อก (Shock) และไม่เชื่อว่าได้มีการ สูญเสียเกิดขึ้น
การพยาบาลในระยะปฏิเสธ
ให้ผู้สูญเสีย ได้ระบายความรู้สึก โดยไม่ต้องสนับสนุนหรือแสดงความเห็นด้วยกับคำพูดหรือแสดง
ความขัดแย้งกับคำพูด
พยาบาลต้องสร้างสัมพันธภาพให้เกิดความเชื่อใจ
ควรเป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนาแก่ผู้สูญเสียในเรื่องต่างๆ
ให้รับฟังด้วยความสงบ ให้กำลังใจด้วยการสัมผัส และคำพูด
การพยาบาลผู้ทุกข์โศก
สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่เชื่อถือ ไว้วางใจ
ส่งเสริมให้ลดความรู้สึกเศร้าโศกลง
ส่งเสริมการสร้างและคงความหวังที่เป็นจริง
กระตุ้นให้ผู้ทุกข์โศกเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
สนับสนุนค้ำจุนจิตใจของญาติ และส่งเสริม
สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ทุกข์โศกและญาติ
ป้องกันการเกิดปฏิกิริยาที่เศร้าโศกผิดปกติ
ดูแลช่วยเหลือเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน
ความหมายของการสูญเสีย (Loss)
เป็นภาวะสูญเสียทางอารมณ์ (Emotional loss) ความรู้สึกที่เป็นปฏิกิริยาของการที่บุคคลต้อง แยกจาก สูญหาย หรือต้องปราศจากบางสิ่งบางอย่างที่เคยมีในชีวิต บุคคลรับรู้ถึงคุณค่าของสิ่งที่สูญเสีย หรือ คาดว่ากาลังจะสูญเสีย
อาจเกิดขึ้นทันที ทันใด หรือค่อยเป็นค่อยไป อาจทำให้เกิดความชอกช้ำเจ็บปวดอย่างมาก หรือเล็กน้อย
ปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความรุนแรงและรูปแบบของการแสดงออกของการสูญเสีย
บุคลิกภาพและความพร้อม บุคคลที่มีบุคลิกภาพเข้มแข็ง มองสภาวะการ สูญเสียเป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งในชีวิต จะผ่านกระบวนการสูญเสียได้ดีกว่า
ประสบการณ์การสูญเสีย การเรียนรู้ การเผชิญและแก้ปัญหาที่ เกิดจากการสูญเสียได้อย่างเหมาะสม ในอดีต เป็นประสบการณ์สำคัญที่ทา ให้บุคคลสามารถปรับตัวต่อการสูญเสีย อื่น ๆ มากกว่าผู้ ที่ไม่ประสบ ความสำเร็จหรือไม่มีประสบการณ์
แหล่งสนับสนุน การได้รับแรงสนับสนุนทางครอบครัวและ สังคมจะช่วยให้การปรับตัวเร็วขึ้น
ความรู้สึกต่อสิ่งที่สูญเสีย การสูญเสียบุคคล อันเป็นที่รัก การสูญเสียอวัยวะสำคัญ
ประเภทของการสูญเสีย
การสูญเสียสมบัติหรือ ความเป็นเจ้าของ
การสูญเสียความสมบูรณ์ทางสรีระ จิตใจ และสังคม
การสูญเสียบุคคลสำคัญของชีวิต
พิจารณาตามแนวคิดการจำแนกลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ (Maslow’s hierarchy of human need)
การสูญเสียความมั่นคงและความรู้สึก เป็นเจ้าของ (Loss of security and a sense of belonging)
การสูญเสียความเคารพนับถือตัวเอง(Loss of self-esteem)
การสูญเสียความปลอดภัย (Safety loss)
ความสูญเสียที่สัมพันธ์กับการทำเต็มตามศักยภาพของตนเอง (Loss related to self-actualization)
การสูญเสียทางกาย (Physiologic loss)
ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า
ความหมายของภาวะซึมเศร้า (Depression)
ความหมายตามศัพท์แปลว่า กดลง หรือทำให้ต่ำลงจากเดิมมาจากรากศัพท์คำว่า Deprive ที่แปลว่า ขาด
เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการสูญเสียทำให้เกิดความรู้สึมืดมน
เหนื่อยหน่าย หดหู่ จิตใจอ่อนเพลีย รู้สึกทดท้อ รู้สึตนเองไร้ค่า อาจเกิดความรู้สึกไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป
คิดหมกมุ่นว่าตนเองไร้ค่า หรือมีความบกพร่องในการทำบทบาทหน้าที่
สาเหตุการเกิดภาวะซึมเศร้า (Depression)
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological factors)
สารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
-Norepinephrine มีปริมาณลดลง ทำให้เกิดอารมณ์ซึมเศร้า (Depression) ถ้าสูงทำให้เกิด อาการแมเนีย (Mania)
-Serotonin มีปริมาณต่ำทำให้ เกิดอารมณ์ซึมเศร้า ถ้ามีปริมาณ สูงทำให้เกิดอาการแมเนีย (Mania)
ผลของยาบางชนิด ผลของยาบางชนิดที่ผู้ป่วย ได้รับ เช่น Steroids Amphetamine การขาด สารอาหารบางอย่าง เช่น วิตามินบี 1 บี 6 บี 12 วิตามิน ซีธาตุเหล็ก แคลเซียม และ โปแตสเซียม
พันธุกรรม (Genetics) พบว่าญาติสายตรงของผู้ป่วย โรคซึมเศร้ามีโอกาสเป็นโรค ซึมเศร้ามากกว่าประชากรทั่วไป ประมาณ 2-3 เท่า อัตราการเกิด โรคเหมือนกันในฝาแฝดพบ ประมาณร้อยละ 37
การทำงานของต่อมไร้ท่อ (Neuroendocrine) การทางานของต่อมไทรอยด์ ผิดปกติ หญิงหลังคลอดที่มีอาการ ซึมเศร้า (Post-Partum Depression) ซึ่งมีความ ผิดปกติของระดับฮอร์โมน
ปัจจัยทางด้านจิตใจ (Psychological factors)
ทฤษฎีเกี่ยวกับความคิด
Cognitive Theory
การที่บุคคลมีอารมณ์ซึมเศร้าเกิดจากการมีความคิดเกี่ยวกับตนเองด้านลบ (Negative Thinking) 3 ด้าน คือ
คาดหวังสิ่งแวดล้อมหรือมองสิ่งแวดล้อมในแง่ลบ
บุคคลมองตนเองในแง่ลบ คิดว่าตนเองไร้ค่า ไม่มีความสามารถ
มองอนาคตในแง่ลบ คิดว่าอนาคตของตนเองคง
จะล้มเหลว หรือไม่มีความหวังอะไร
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
(Psychoanalytical theory)
Ego ไม่สามารถทำงานได้อย่างเสรี (Free function ego) เพราะถูก Super ego ที่มีอิทธิพลมากคอยลงโทษอยู่(Over punitive super ego) ทำให้ Ego อ่อนแอนำมาซึ่งภาวะซึมเศร้า และใช้กลไกการป้องกันทางจิตแบบ Introjection มองตนเองว่าเป็นคนไร้คุณค่า
การสูญเสีย (Loss)
อาการแสดงออกของภาวะซึมเศร้า
อาการที่แสดงออกทางกาย
เก็บซ่อนตัว หลีกเลี่ยงสังคม
มีพฤติกรรมกลับไปสู่วัยเด็ก ร้องไห้ง่าย
ไม่ชอบเคลื่อนไหวร่างกาย
ชอบนอนเหมือนคนเกียจคร้าน
ไม่อยากทำงานหรือทำงานขาดประสิทธิภาพ
อิริยาบถเชื่องช้า พูดช้า คิดช้า ไม่อยากใช้สมอง
สีหน้าและแววตาซึมเศร้า เลื่อนลอย กล้ามเนื้อใบหน้าตก
นอนไม่หลับ หรือตื่นบ่อย
– เพลียไม่มีแรง มึนงง
เบื่ออาหาร ท้องผูก
ความรู้สึกทางเพศลดลง
อาการที่แสดงออกทางจิตใจ
เบื่อเหงาหงอย
ไม่กระตือรือร้น สิ้นหวัง
จิตใจหดหู่ หงุดหงิด ใจน้อย
ความจำไม่ดี
รู้สึกไร้คุณค่า
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยยอมรับความ
เจ็บป่วยและให้ความร่วมมือในการรักษา
ประเมินสาเหตุของภาวะซึมเศร้า
ประเมินระดับความซึมเศร้าอาจประเมินจากสีหน้าที่เศร้าซึม ร้องไห้ตลอดเวลา
สอบถามถึงความคิดในการฆ่าตัวตายและการพยายามฆ่าตัวตายทั้งนี้อาจไม่ได้มุ่งถามตรงๆแต่พยาบาลควรสอบถามระหว่างพูดคุยสร้างสัมพันธภาพ
ประเมินอาการที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
การพยาบาลด้านจิตใจ
ให้ความเป็นมิตรเป็นเพื่อนเพื่อให้ผู้รับบริการรู้สึกอบอุ่นใจมีที่พึ่งไม่ว้าเหว่หรือรู้สึกขาดเพื่อน
สนใจ เอาใจใส่ และตอบสนองในสิ่งที่ผู้รับบริการต้องการอย่างเหมาะสม
รับฟังความทุกข์ความไม่สบายใจ ประคับประคองจิตใจให้คลายทุกข์
แสดงความปรารถนาดีและอดทนต่อพฤติกรรมเชื่องช้าของผู้รับบริการ ไม่แสดงความเบื่อหน่ายราคาญ
ไม่กล่าวประณามการกระทา ที่ไม่ถูกต้องของผู้รับบริการ แต่แสดงความเห็นอกเห็นใจ
ใช้ความสังเกตและไหวพริบในการทายใจผู้รับบริการว่าต้องการอะไร เพราะผู้รับบริการจะไม่พูด แต่จะคอยให้ผู้อื่นถาม ซึ่งจริง ๆ แล้วผู้รับบริการอยากบอกแต่ไม่รู้จะบอกอย่างไร
การพยาบาลด้านร่างกาย
ระวังอุบัติเหตุ เนื่องจากผู้รับบริการขาดความระแวดระวัง ไม่มีสมาธิ
ให้ความเอาใจใส่ดูแลเรื่องอาหาร เพราะจะรับประทานอาหารไม่ค่อยได้ ขาดความอยาก
หรือไม่หิว
ผู้ป่วยที่นอนไม่หลับต้องดูแลสิ่งแวดล้อมในการนอน
ผู้ป่วยไม่สนใจตนเองต้องช่วยในด้านความสะอาดและอนามัยส่วนบุคคล
ไม่ควรให้ทำกิจกรรมที่ยาก ควรให้ทำกิจกรรมที่เพลิดเพลิน
กิจกรรมบันเทิงควรให้เป็นผู้นั่งดูมากกว่าให้เป็นผู้แสดง (passive recreation)
ผู้ที่มีภาวะโกรธ
ความหมายของอารมณ์โกรธ (Anger)
เป็นอารมณ์หรือความรู้สึกพื้นฐานของมนุษย์
เป็นปฏิกิริยาตอบสนองปกติของมนุษย์
ถ้าแสดงอารมณ์โกรธอย่างเหมาะสม จะช่วยให้การ
แก้ปัญหามีประสิทธิภาพ และลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
ไม่มีความเป็นเหตุเป็นผล เป็นความรู้สึกไม่สุขสบาย
จากความคับข้องใจ การบาดเจ็บ ความรู้สึกหวาดกลัว
มีระดับความรุนแรงตั้งแต่ระดับขุ่นเคืองใจ
จนถึงระดับที่แสดงออกถึงความเกรี้ยวกราด
ความหมายของความรู้สึกไม่เป็นมิตร (Hostility)
เป็นพฤติกรรมก้าวร้าวโดยใช้คาพูดเป็นการแสดงออก
ทางอารมณ์ เพื่อทำร้ายจิตใจทางคำพูด
ไม่คำนึงกฎเกณฑ์ทางสังคม
เกิดจากความรู้สึกว่าถูกคุกคามและขาดอำนาจ
นำไปสู่พฤติกรรมก้าวร้าวโดยใช้กำลัง
ความหมายของพฤติกรรมก้าวร้าว (Aggression)
เป็นพฤติกรรมการแสดงอารมณ์โกรธทั้งทางคำพูด และการกระทำโดยไม่คำนึงถึงสิทธิของผู้อื่น พร้อมที่จะทำร้ายตนเองและผู้อื่น
เป็นการต่อสู้เพื่อให้ได้ตามความต้องการของตนเอง
เกิดจากการที่ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ โกรธ และความไม่เป็นมิตรได้
พบได้บ่อยในบุคคลที่ขาดความมั่นใจในตนเอง จึงสร้างความภาคภูมิใจโดยการแสดงอานาจ และการมีอิทธิพลเหนือคนอื่น
ความเกี่ยวข้องของอารมณ์โกรธ ความรู้สึกไม่เป็นมิตร และพฤติกรรมก้าวร้าว
-อารมณ์โกรธเป็นอารมณ์ ปกติที่เกิดขึ้นมีทั้งทาง สร้างสรรค์และทำลาย
-มีความภาคภูมิใจในตนเอง มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น และมีสุขภาพจิตที่ดี
-บุคคลสามารถจัดการความโกรธ ได้อย่างสร้างสรรค์
ความเกี่ยวข้องของอารมณ์โกรธ ความรู้สึกไม่เป็นมิตร และพฤติกรรมก้าวร้าว
-อารมณ์โกรธเป็นอารมณ์ ปกติที่เกิดขึ้นมีทั้งทาง สร้างสรรค์และทำลาย
-หากไม่สามารถจัดการกับ อารมณ์โกรธหรือไม่สามารถ ควบคุมอารมณ์โกรธได้
-จะสะสมจนทำให้มีระดับ ความโกรธที่รุนแรงเพิ่ม มากขึ้น
-ก่อให้เกิดความรู้สึก ไม่เป็นมิตร
-นำไปสู่พฤติกรรมก้าวร้าว โดยใช้คำพูดที่รุนแรง ใช้กำลังทำให้ผู้อื่นได้รับ บาดเจ็บ หรือทำให้สิ่งของ ได้รับความเสียหาย
สาเหตุการเกิดอารมณ์โกรธและพฤติกรรมก้าวร้าว
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological factors)
มีพยาธิสภาพของ
ระบบประสาท
มีเนื้องอกที่สมอง
โรคอัลไซเมอร์
การชัก
ได้รับความกระทบกระเทือนทางสมอง
ปัจจัยทางด้านจิตใจ (Psychological factors)
ทฤษฎีคับข้องใจ-ความก้าวร้าว (Frustration-aggression theory) การที่บุคคลถูกขัดขวางไม่ให้ได้รับสิ่งที่คาดหวังไว้ เกิดความคับข้องใจ โกรธ พฤติกรรมก้าวร้าว
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytical theory)
แรงขับของสัญชาตญาณ (Instinctual drives) คือ แรงผลักดันเพื่อการดำรงชีวิต (Life force) จะ แสดงออกทางเพศ ทำให้เกิดความรู้สึกพึงพอใจ และแรงผลักดันไปสู่ความตาย (Death force) จะ แสดงออกทางความก้าวร้าว การมีชีวิตอยู่คือการต่อสู้เพื่อความสมดุลของ แรงผลักดันทั้งสอง แรงขับที่มีอำนาจเหนือกว่าพฤติกรรม
ปัจจัยทางทางสังคมและวัฒนธรรม (Socioculturalfactors)
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social learning theory)
การสังเกตจากตัวแบบ (Modeling)
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยยา
(Psychopharmacological)
ยากลุ่มอาการต้านเศร้า(Antidepressant)SSRIs
ยากลุ่มลดความวิตกกังวลและยานอน หลับ (Antianxiety medications and Sedative-hypnotics) Lorazepam
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizers) Valproate, Lithium
ยาต้านอาการทางจิต (Antipsychotics) Haloperidol, Olanzapine, Ziprasidone, Clozapine, Risperidone
กลุ่มอื่นๆ Propranolol, Carbamazine
การพยาบาลผู้ที่มีอารมณ์โกรธ
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ฟังอย่างตั้งใจ (Active listening) ให้โอกาสผู้ป่วยได้พูดถึงความรู้สึกไม่พอใจออกมา
เมื่ออารมณ์โกรธลดลงให้ผู้ป่ วยสำรวจถึงสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยโกรธ
จัดให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมที่ออกแรง เพื่อปลดปล่อยพลังงานส่วนเกินที่เกิดจากอารมณ์โกรธ
ออกไปในทางที่สร้างสรรค์
ให้คำแนะนาผู้ป่วยถึงวิธีจัดการกับอารมณ์โกรธออกไปในทางที่เหมาะสม
การพยาบาลผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
ท่าทีของพยาบาล ควรสงบ (Calm) และมั่นคง (Firm)
พยาบาลควรควบคุมอารมณ์ของตนเองไว้ไม่ว่าจะรู้สึกอย่างไร อย่าให้ผู้ป่วยเห็นว่ากำลังกลัว
ไม่ควรเข้าไปพบผู้ป่วยคนเดียว เพราะตามสัญชาตญาณผู้ป่วยจะรู้สึกว่าได้เปรียบ และจะอาละวาดรุนแรงมากขึ้น
ควรยืนอยู่ห่างผู้ป่วยพอสมควร เพราะถ้าเข้าใกล้มากไปอาจทำให้ผู้ป่วยกลัวว่าจะถูกจู่โจมทำร้าย
แนวทางในการพิจารณาเลือกใช้
การผูกยึด มีพฤติกรรมเป็นอันตรายต่อผู้อื่น
การใช้ห้องแยก ไม่ให้ความร่วมมือ มีพฤติกรรมวุ่นวาย ไม่เป็นอันตรายต่อ ผู้อื่น
ข้อห้ามในการพิจารณาเลือกใช้
การผูกยึด มีประวัติถูกข่มขืน หญิงตั้งครรภ์, COPD, Spinal injury, Seizure ผู้ที่เสี่ยงต่อภาวะ Asphyxia, Sudden cardiac arrest
การใช้ห้องแยก มีพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อตนเอง
แนวทางการพยาบาล
ช่วยให้ยอมรับว่าตนเองกำลังมีอารมณ์โกรธ
ช่วยให้ค้นหาสาเหตุที่ทำให้รู้สึกโกรธ
ช่วยให้ได้ระบายพลังงานภายในที่เกิดจาก อารมณ์โกรธออกไปในทางที่เป็นประโยชน์ และเป็นที่ยอมรับของสังคม
*จัดการกับความรู้สึกโกรธก่อนที่จะแสดง พฤติกรรมก้าวร้าว