Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ของเหลวในร่างกาย ( Body Fluid ) - Coggle Diagram
ของเหลวในร่างกาย
( Body Fluid )
ของเหลวทุกชนิดที่อยู่ในร่างกายนี้เรียกว่า สารคัดหลั่งหรือของเหลวในร่างกาย
หน้าที่เเละประโยชน์ของของเหลวในร่างกาย
สร้างความหล่อลื่นให้อวัยวะในร่างกายทำงานสะดวก
รักษาระดับความดันในร่างกายให้เป็นปกติ
เป็นช่องลำเลียงขนส่งอาหารและเเร่ธาตุที่จำเป็น
เป็นช่องระบายทิ้งของเสียและสารพิษจากในร่างกาย
ช่วยควบอุณหภูมิในร่างกายให้เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ
รักษาสภาวะสมดุลของการเป็นกรด-ด่าง และธาตุต่างๆในสารละลายประจุไฟฟ้าภายในของเหลวนั้น
ชนิดเเละองค์ประกอบของของเหลวในร่างกาย
เลือด
(Blood)
พลาสมา (plasma)
ส่วนของน้ำเลือดที่ได้จากการนำเลือดมาทำให้เซลล์ตกตะกอน
น้ำ 92% และ ของเเข็ง 8%
สารอนิที่พบในพลาสมามาก เช่น คาร์บอเนต ฟอสเฟต เป็นต้น
โปรตีนในพลาสมา
อัลบูมิน (albumin)
โกลบูลิน (globulin)
ไฟบริโนเจน (fibrinogen)
หน้าที่สำคัญ
เป็นภูมิคุ้มกัน
เป็นตัวนำหรือตัวพาในการเคลื่อนย้ายสาร
ตัวช่วยรักษาระดับเเรงดันออสโมซิสของเลือดให้คงที่
เป็นบัฟเฟอร์สามารถให้หรือจับไฮโดรเจนไอออนได้
ซีรัม (SERUM)
เป็นส่วนของพลาสมาที่แยกไฟบริโนเจนและปัจจัยในการเเข็งตัวของเลือดออกทั้งหมด
ประกอบด้วยแอนติบอดี ที่ทำหน้าที่ป้องกันและต้านทานเชื้อโรค
ของเหลวชนิดอื่นๆที่มาจากเลือด
น้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ไขข้อ
ของเหลวที่พบในช่องว่างของร่างกาย
เยื่อบุช่องท้อง เยื่อหุ้มหัวใจ ช่องอก
ของเหลวอื่นๆ
ของเหลวในลูกตา ของเหลวที่หูส่วนใน
สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffersolution)
สารละลายบัฟเฟอร์หมายถึงสารละลายที่สามารถรักษาระดับ pHให้คงที่หรือเปลี่ยนแปลงนอ้ยที่สุด แม้ว่าจะเติมกรดเบส หรือ น้ำลงไปเล็กน้อย
แบ่งเป็น 2 ประเภท
สารละลายบัฟเฟอร์ที่เกิดจาก
กรดอ่อน-เกลือของกรดอ่อน
สารละลายบัฟเฟอร์ที่เกิดจาก
เบสอ่อน-เกลือของเบสอ่อน
ปฏิกิริของระบบบัฟเฟอร์
ถ้ามีการเพิ่มไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) ใหกับสารละลายบัฟเฟอร์ดังกล่าว ไฮโดรเจนไอออนจากกรดจะไปทำปฏิกิริยิากับไฮดรอกไซด์ไอออนที่เพิ่มขึ้นกลายเป็น H2O ทำให้สารละลายเป็นกลาง
ถ้ามีการเพิ่มไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) ใหกับสารละลายบัฟเฟอร์ดังกล่าวไฮโดรเจนไอออนจากกรดจะไปทำปฏิกิริยิากับไฮดรอกไซด์ไอออนที่เพิ่มขึ้นกลายเป็น H2O ทำให้สารละลายเป็นกลาง
กลไกการควบคุมกรดเบสในร่างกาย
โดยการเปลี่ยนแปลงอัตราการหายใจ เพื่อลดหรือเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์
ระบบบัฟเฟอร์ ช่วยให้สารละลายมีค่าความเป็นกรดเบสเกือบคงที่
ระบบบัฟเฟอร์โปรตีน โปรตีนในพลาสมาฮีโมโกลบิน
บัฟเฟอร์ไบคาร์บอเนต
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
กรดคาร์บอนิก
บัฟเฟอร์ฟอสเฟต
ฟอสเฟตไอออน
การขับ H ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทางไต
ระบบบัฟเฟอร์ในร่างกาย
เพื่อควบคุมค่า pH ของร่างกายให้ค่า pH 7.35-7.45
1)Bicarbonatebuffer
มีความสำคัญในการควบคุม pH ของเลือด น้ำเหลือง และสารน้ำนอกเซลล์
2) Phosphate buffer
มีความสำคัญในการควบคุม pH ในเนื้อเยื่อ
3) Protein buffer
โปรตีนมีหมู่ที่เป็นกรดอ่อนและเบสอ่อน มีความเป็นบัฟเฟอร์ควบคุมระดับ pH ภายในเซลล์