Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ที่มีความวิตกกังวล และความเครียด, นศพต.สุประภา ลาลุน เลขที่ 54 -…
ผู้ที่มีความวิตกกังวล
และความเครียด
ความวิตกกังวล
ระดับของความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลในระดับต่ำ (mild)
วิตกกังวลเพียงเล็กน้อย กระตุ้นให้มีความตื่นตัว พร้อมที่จะรับรู้ ปรับตัวให้สามารถเข้ากับสถานการณ์นั้นได้ บางคนจะมีการรับรู้ดีขึ้น
การพยาบาล
แสดงการยอมรับ ให้กำลังใจ กระตุ้นให้แก้ปัญหาอย่างเหมะสม
ตระหนักรู้ว่า anxiety
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตื่นตัว มีความเข้มแข็ง
ความวิตกกังวลในระดับปานกลาง (moderate)
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตื่นตัว แต่แคบลง selective attention ex. อ่านหนังสือ แต่ไม่ได้ยินเพื่อนเรียก
มีความตื่นตัวมากขึ้น ระบบประสาท sympathetic ทำงาน ลุกลี้ลุกลน การรับรู้ถูกจำกัดให้แคบลง อยู่ในขอบเขตของสิ่งเร้าที่สนใจ
อาจมีการปรับตัวแบบสูง/มีความมั่นใจลดลง
มีพลังงานเกิดขึ้นมากกว่าคนที่มีความวิตกกังวลน้อย
อยู่นิ่งเฉยไม่ได้
การพยาบาล
ให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก ช่วยผู้ป่วยให้สำรวจความรู้สึก ส่งเสริมการผ่อนคลายความวิตกกังวล ช่วยให้ปรับตัวและมีความสามารถแก้ปัญหา
ตระหนักรู้ว่า anxiety
ค้นหาสาเหตุ คุณไม่สบายใจเรื่องอะไร
สำรวจว่าก่อนหน้าเผชิญความเครียดได้เหมาะสมหรือไม่
กระตุ้นให้เผชิญความเครียดเหมาะสม
กระตุ้นให้ทำกิจกรรมที่ออกแรงปลดปล่อยพลังงานส่วนเกิน
เทคนิคผ่อนคลาย
ความวิตกกังวลในระดับรุนแรง (severe)
อาการลุกลี้ลุกลน กระสับกระส่าย พูดรัวและเร็วขึ้น อาจพูดติดอ่าง รับรู้และการมีสติลดลง มีการตอบสนองแบบสูง/หนี
การรับรู้สภาพแวดล้อมผิดๆ ไปจากความเป็นจริง สติปัญญาที่จะแก้ไขปัญหาต่างๆ ลดลง ไม่รับรู้กาลเวลา สถานที่
ไม่ได้ยินสิ่งที่เราพูด/บอกให้ทำ พฤติกรรมของบางคนอาจจะแสดงพฤติกรรมตรงกันข้าม
การรับรู้ลดลง สิ่งกระตุ้นใหม่ทำให้วิตกกังวลเพิม ระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาทิทิคเพิ่ม hyperventilation กลัว เรียนรู้แก้ไขปัญหาไม่ได้
การพยาบาล
อยู่เป็นเพื่อนให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย ลดสิ่งกระตุ้น ตอบสนองควาต้องการด้านร่างกาย
เป็นผู้ฟังที่ดี ให้โอกาสระบายความรู้สึกไม่สบายใจ เพื่อให้ลดลงมาสู่ moderate
ความวิตกกังวลในระดับรุนแรง (panic)
ไม่สาารถควบคุมตนเองได้และมารถทางด้านคำพูด กิริยาอาการต่างๆ จะถดถอยลงการรับรู้จะแคบมาก ไม่ส
ความเครียด
ความหมาย
เป็นอาการที่ร่างกายและจิตใจเกิดการตื่นตัวเตรียมรับกับเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งซึ่งบุคคลคิดว่าไม่น่าพอใจ
สาเหตุของความเครียด
สาเหตุจากภายนอกตัวบุคคล
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สังคมและสัมพันธภาพกับคนอื่นๆ
สภาวการณ์และเหตุการณ์อื่นๆ
สาเหตุจากภายในตัวบุคคล
โครงสร้างของร่างกายและสภาวะทางสรีระวิทยา
ระดับพัฒนาการ
การรับรู้ และการแปลเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดอารมณ์ กลัว โกรธ เกลียด
สิ่งที่คุกคามต่อภาพพจน์ของบุคคล
ความเจ็บปวด
การเคลื่อนไหวไม่ได้
การสูญเสียและการเปลี่ยนแปลง การสูญเสียบุคคลที่รัก
ผลกระทบของความเครียด
ด้านร่างกาย
ร่างกายหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล และอะดรีนาลินออกมา
หากร่างกายไม่ได้ใช้พลังงาน ฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจะหมุนเวียนเข้าสู่กระแสเลทอด ทำให้อวัยวะต่างๆ ทำงานผิดปกติ
กลุ่มอาการปรับตัวทั่วไป
ระยะเตือน
เป็นการตอบสนองของบุคคลต่อสิ่งเร้า/ตัวกระตุ้นในระยะแรก เกิดเพียงระยะสั้นๆ ตั้งแต่ไม่กี่นาที-48 ชั่วโมง
อัตราการเต้นของหัวใจจะแรงและเร็ว
ความดันโลหิตสูง
ระยะที่เริ่มรู้ว่ามีสิ่งคุกคามต่อตัวคน ร่างกายจะผลิตฮอร์โมนออกมาเพื่อรักษาสมดูล
ระยะต่อต้าน
ระยะที่ร่างกายปรับตัวเพื่อต่อสู้กับสิ่งคุกคามโดยใช้กลวิธีต่างๆ เพื่อให้ชีวิตอยู่รอด
ระยะหมดกำลัง
ไม่สามารถปรับตัวได้ จะเกิดความเครียดสูง/เกิดความเครียดว่ามีการปป.ในร่างกาย
ส่งผลให้เกิดความผิดปกติ
ความผิดปกติทางร่างกาย=ไซโคมาติค
ความผิดปกติทางจิตใจ=กลัวโดยไร้เหตุผล ขาดความเชื่อมั่น วิตกกังวล คิดมาก
ความผิดปกติทางพฤติกรรม=มีการรับประทานอาหารเพิ่มขึ้นหรือลดลง สูบบุหรี่ ดื่มสุรามากขึ้น
ระดับความเครียด
ต่ำ
สั้นเพียงนาทีหรือชั่วโมง เกี่ยวกับสาเหตุ/เหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน
กลาง
นานเป็นชั่วโมง/เป็นวัน
สูง
สัปดาห์/อาจเป็นเดือนหรือปี
บทบาทของพยาบาล
พยาบาลช่วยดึงเอาแหล่งประโยชน์ทั้งภายในและภายนอกของบุคคลที่ประสบภาวะเครียดมาใช้ให้เป็นประโยชน์
พยาบาลช่วยบุคคลให้มองเหตุการณ์ใหม่ มองหลายๆ แง่ หลายๆ มุม
พยาบาลช่วยบุคคลเหล่านี้ให้มีความรู้ในเรื่องบุคลิกภาพ สอนเขาให้รู้จักการผ่อนคลายความเครียด
พยาบาลช่วยบุคคลให้ตระหนักถึงกลไกการแก้ไขปัญหาที่เขากำลังใช้อยู่
นศพต.สุประภา ลาลุน เลขที่ 54