Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหายใจ(Disorder of Respiratory system) - Coggle Diagram
ระบบหายใจ(Disorder of Respiratory system)
ศูนย์ควบคุมการหายใจ (respiratory center)
Pons
Medulla oblongata
ควบคุมจังหวะ(rhythm) หายใจเข้า ออก
ควบคุมอัตราการ หายใจ, ความลึกของการ หายใจเข้า
กล้ามเนื้อหายใจ
หายใจเข้า (inspiration)
External intercostal muscle: เมือ หดตัวกระดูกซีโครงจะถูกยกขึ้นพร้อม ท้ังกางออกไปข้างหน้า
diaphragm muscle*เมือหดตัว กล้ามเนื้อจะเคลอื นลงต่าสู่ชอ่ งท้อง เพือให้ปริมาตรของช่องอกเพมิ ข้ึน
Negative > positive pressure
การหายใจออก (Expiration)
เกิดจากการคลายตัวของกลา้มเน้ือ หายใจเข้า
เกิดจาก elastic recoil ของปอด
และทรวงอก
positive pressure>negative pressure ลด A-P, Lateral diameter
Ventilation
คือ การเข้าออกของอากาศในระบบทางเดินหายใจ
Pulmonary ventilation
ปริมาตรอากาศทีหายใจเข้า ออกปกตใิ น 1 นาที ตามสูตร คือ
Pulmonary ventilation = Tidal volume x RR
Alveolar ventilation
ปริมาตรอากาศทีผ่านเข้าไปใน respiratory part ใน 1 นาที
Alveolar ventilation = (TV – Dead space volume) x RR
Perfusion
คือ การไหลเวียนของเลอื ดจาก Right ventricle ผ่านแขนง pulmonary arteryเกิดขบวนการแลกเปลยีนก๊าซผ่านpulmonarycapillariesและ กลับสู่หัวใจห้องบนซา้ยทางpulmonaryvein
Perfusion
การไหลเวียนเลอื ดทีปอด เริมจาก Pulmonary artery น่าเลือดออกจาก หัวใจห้องล่างขวา (เลือดด่า) ไปยังปอดจนถึง Pulmonary Capillary
ปัจจัย
การกระจายเลือดสู่ถุงลมอย่างสม่าเสมอ
ปริมาตรเพียงพอ
Diffusion
คือ การแลกเปลียนก๊าซ CO2 และ O2 ระหว่างถุงลมปอด และ Pulmonary Capillary โดยผ่าน Alveolar Capillary Membrane
Dead space
ภาวะที Ventilation (V) ปกติแต่ Perfusion (Q)= เป็นศูนย์
Anatomical dead space
Alveolar dead space
Mechanical dead space
อากาศ ทีข้างอยู่ในท่อทางเดินหายใจ
อากาศที ข้างอยู่ใน alveolus
คือ อากาศทีข้างอยู่ใน airway ส่วนที ไม่ได้มีการแลกเปลียน gas
ภาวะพร่องออกซิเจน
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
ระบบประสาท
สมองไวต่อการขาดออกซิเจน (20% basal O2 consumption) หรือใช้ O2 45 ml/min ผลิต ATP เพือควบคุม Na-K pump, สร้าง สาร neurotransmitter เพือการ synapse
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ใช้ออกซิเจนร้อยละ 15 หรือ 35 ml/min เพือการหดตัว-และคลายตัว หากออกซิเจนลดลง
ภาวะหายใจล้มเหลว (respiratory failure)
ภาวะที PaO2 <60 mmHg, PaCO2 >50 mmHg, pH<7.3, oxyhemoglobin น้อยกว่าร้อยละ 90, HCO3 ในเลือดลดลง
ชนิดของหายใจล้มเหลว
การถ่ายออกซิเจนล้มเหลว (Type I respiratory failure ;Oxygenation failure) เกิดจากการซึมซาบ (diffusion) และ การไหลเวียนเลือด (perfusion) ลดลง ผล ABG (arterial blood gas) :PaO2 <60 mmHg (V/Q mismatch, Rt to Lt shunt)
การระบายอากาศล้มเหลว (Type II respiratory failure, Ventilatory failure, pumping or hypercapnic failure,):การ คังคาร์บอนไดออกไซด์ ผล ABG: PaCO2 >50 mmHg และ pH<7.3
กลไกการเกิดหายใจล้มเหลว
hypoventilation: หายใจช้า ตื้น, tidal volume: VT ลดลง เกิดภาวะ Hypercapnia
diffusion defect: ถุงลมบวม/หนา, พังผืดทีถุงลม
V/Q mismatch
อาการหายใจล้มเหลว
Hypoxemia (PaO2 ลดลง)
2.Hypercapnia (PaCO2 เพิม)