Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้บริการฝากครรภ์หญิงตั้งครรภ์ G1P0A0L0 GA 37+5 Wks - Coggle Diagram
การให้บริการฝากครรภ์หญิงตั้งครรภ์
G1P0A0L0 GA 37+5 Wks
การซักประวัติ
ประวัติส่วนตัว
อายุ 22 ปี
สภานภาพ สมรส
สัญชาติไทย เชื้อชาติไทย ศาสนาพุทธ
จบการศึกษา ปวส. อาชีพแม่บ้าน
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจุบัน
L.M.P.=16 พ.ค. 63
E.D.C.=5 มี.ค. 2564
GA=37+5
ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ มานาน 4-5 วัน
เคยคุมกำเนิดด้วยวิธีการรับประทานยาคุมกำเนิด ก่อนตั้งครรภ์หยุดยา 6 เดือน
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ปฏิเสธโรคประจำตัว ปฏิเสธการแพ้ยา แพ้อาหาร
ประวัติครอบครัว
มารดาเป็นโรคโลหิตจาง
ประวัติการได้รับวัคซีน
ได้รับวัคซีน dT กระตุ้น 1 เข็ม วันที่ 17ก.ค.63
การตรวจร่างกาย
ตรวจทั่วไป
ศีรษะ:
มีความสมมาตรกันดี คลำไม่พบก้อน เยื่อบุตาซีดเล็กน้อย ปากและฟันสะอาดดี
คอ
ไทรอยด์ไม่โต
เต้านม
จากการตรวจครั้งก่อน เต้านมปกติดี หัวนมมีขนาดปกติ ไม่บอด แบน บุ๋ม ฐานหัวนมยืดหยุ่นดี คลำไม่พบก้อน
แขนขา
ไม่พบอาการบวม กดบุ๋ม ไม่พบเส้นเลือดขอดตามบริเวณข้อพับ
PV:
จากการตรวจครั้งที่แล้ว ไม่พบความผิดปกติ Normal
ตรวจท้อง
การดู
หน้าท้องโต ลักษณะแนวยาว Longitudinal lie พบเส้น linea nigra และ striae gravidarum
การคลำ
fundal grip: ยอดมดลูก 3/4 > ระดับสะดือ
Umbilical grip: large past(หลังของทารก) อยู่ทางด้านซ้าย small part(ด้านแขนขา) อยู่ทางด้านขวา
Pawlik grip: คลำส่วนนำได้เป็นศีรษะ
bilateral inguinal grip: HE ศีรษะของทารกเข้าสู่อุ้งเชิงกรานแล้ว
การให้คำแนะนำ
การปฏิบัตืตัวตามไตรมาส
การเปลี่ยนแปลง
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ควรเพิ่มเดือนละ 2 กก. รวม 6 กก.
ปัสสาวะบ่อย
เหนื่อยง่าย นอนหลับไม่สบาย อึตอัด
ปวดหลัง
ตะคริว
คำแนะนำ
อาหาร ควรเพิ่มอาหารประเภทโปรตีน เนื้อสัตว์หรือเนื้อปลา พักใบเขียวชนิดต่างๆ และอาหารที่มีแคลเชียม
การฝากครรภ์ตามนัด
การตูแลเต้านม ในระยะ 2-3 เดือนก่อนคลอดในการอาบน้ำ ไม่ควรฟอกสบู่บริเวณหัวนมมากนัก เพราะจะลางไขมันบริเวณนั้นออกไปหมด ทำให้หัวนมแห้งและแตกง่าย
ภาวะฉุกเฉิน : อาการท้องแข็ง หรือเจ็บครรภ์ทุก 5-10 นาที มีมูกเลือดหรือเลือดสดๆ ออกทางช่องคลอด มีน้ำเดิน (น้ำใสๆ คล้ายปัสสาวะราด) ลูกดิ้นน้อยลง ปวดศีรษะ ตราพร่มัว จุกแน่นลิ้นปี บวม
ภาวะโลหิตจาง
หมายถึง โรคที่มีปริมาณเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ เป็นแล้วจะมีอาการอ่อนเพลีย หน้ามืด
สาเหตุ
หญิงตั้งครรภ์ ต้องสร้างเม็ดเลือดเพิ่มให้ลูก จึงทำให้แม่มีเลือดน้อยหรือเลือดจาง
หญิงตั้งครรภ์ กินอาหารที่มีธาตุเหล็กในการบำรุงเลือดไม่เพียงพอ
หญิงตั้งครรภ์เป็นโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นความผิดปกติของเม็ดเลือดมาแต่กำเนิด
การสูญเสียเลือดมาก เช่น แผลในกระเพาะอาหาร โรคไตวายเรื้อรัง
ผลเสีย
ต่อแม่
1.ติดเชื้อง่ายและรุนแรง ทำให้เสี่ยงต่อการเสียชีวิต
คลอดก่อนกำหนด
โอกาสเสียเลือดหลังคลอดมาก ทำให้เสียชีวิต
ต่อลูก
ลูกเสี่ยงต่อการเสียชีวิตในท้อง
ลูกเจริญเติบโตข้า คลอดออกมาน้ำหนักน้อย
ลูกที่คลอดออกมามีพัฒนาการล่าข้าทั้งร่างกาย และสมอง
ข้อปฏิบัติในการป้องกันและแก้ไข
กินยาบำรุงเลือด ตามที่แพทย์แนะนำทุกวัน ไม่กินพร้อมยาแคลเซียม
กินอาหารบำรุงเลือด ได้แก่ ไข่ ตับหมู ตับไก่ ปลา หมู ไก่ กุ้ง ผักตำลึง ผักบุ้ง คะน้า กะหล่ำปลี ถั่วฝึกยาว ข้าวกล้อง
กินผลไม้หลังอาหาร ได้แก่ กล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ มะละกอ ส้ม สับปะรด พุทรา จะช่วยดูดซึมธาตุเหล็กได้ดีและลดอาการท้องผูก
หลีกเลี่ยงกินยาบำรุงเลือดพร้อมอาหารที่ขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็ก ได้แก่ นม เนยน้ำขา กาแฟ ควรกินห่างกัน 2 - 4 ชั่วโมง
อาการไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์(ตะคริว)
คือ การหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างฉับพลัน จะมีอาการเกร็ง ปวดส่วนมากจะพบบริเวณน่อง
สาเหตุ ระบบไหลเวียนเลือดไม่สะดวกเมื่อมีขนาคท้องใหญ่ขึ้น ขาดแคลเซียมขณะตั้งครรภ์ส่วนมากจะเริ่มมีอาการตั้งแต่ 5 เดือนขึ้นไป
การป้องกัน
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ดื่มนม ดื่มน้ำ 6 - 8 แก้วต่อวัน
ทานยาบำรุงแคลเซียมออกกำลังกายตามความเหมาะสม
นอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดทับของระบบไหลเวียนเลือดการบรรเทา
เมื่อเกิด ตะคริวโดยการนวด และ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณที่มีอาการ
ปัญหา/ความเสี่ยงที่พบ
หญิงตั้งครรภ์ เป็นพาหะโรคธาลัสซีเมีย ผลเลือด Hct = 28 vol%
เป็นตะคริวบ่อย
ฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง
ครั้งที่ 1
วันที่ 20ก.ค.63 GA 9+2 Wks นำหนัก 54 kg. ส่วนสูง 156 cm. BMI21.39 ปกติ ได้รับ Lab1, การตรวจฟันสำหรับหญิงตั้งครรภ์ครั้งแรก
ครั้งที่ 2
วันที่ 28ก.ย.63 GA 17+3 Wks นำหนัก 54 kg. ส่วนสูง 156 cm. BMI105 ปกติ ได้รับANC ,ตรวจอัลตราซาวน์, ตรวจ Hct
ครั้งที่ 3
วันที่ 25พ.ย.63 GA 25+6 Wks นำหนัก 56 kg. ส่วนสูง 156 cm. BMI110 ปกติ ได้รับANC, ตรวจ CBC
ครั้งที่ 4
วันที่ 5ม.ค.64 GA 31+5 Wks นำหนัก 58 kg. ส่วนสูง 156 cm. BMI 113ปกติ ได้รับANc, ตรวจอัลตราซาวน์, Lab2, Urine Analysis
ครั้งที่ 5
วันที่ 17ก.พ.64 GA 37+5 Wks นำหนัก 60 kg. ส่วนสูง 156 cm. BMI118 ปกติ ได้รับANC ,ตรวจ Hct
การตรวจพิเศษ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Lab 2 ภรรยา
Hct=28.9%
VDRL=Non reactive
HIV=Non reactive
Lab 1
สามี
MCV/MCH=87.5/28.1
DCIP=Negative
ไวรัสตับอักเสบบี=Negative
VDRL=Non reactive
HIV=Non reactive
ภรรยา
blood group=AB+ Hct/Hb= 33%/10.5
MCV/MCH=62.3/19.7
DCIP=Positive
ไวรัสตับอักเสบบี=Negative
VDRL=Non reactive
HIV=Non reactive
การพยาบาล
ประเมินผู้ป่วย(การซักประวัติ การตรวจร่างกาย) ประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์
หากมีปัญหา/ภาวะเสี่ยง ส่งต่อข้อมูลเพื่อพบแพทย์
ให้คำแนะนำเกี่ยวการปฏิบัติตัวตามไตรมาส การดูแลความไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
ดูแล จัดยาตามแพทย์สั่ง