Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการให้คำปรึกษาทางจิตเวช Process of Counseling - Coggle Diagram
กระบวนการให้คำปรึกษาทางจิตเวช
Process of Counseling
การให้คำปรึกษารายบุคคล
Individual counseling
การให้คำปรึกษา 5 ขั้นตอน
การสร้างสัมพันธภาพ
เป้าหมายเพื่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่าง ผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษา สร้างความรู้สึกไว้ใจ trust safe และ confidence
จัดสถานที่ให้เหมาะสม
สร้างสัมพันด้วยการทักทาย
บอกจุดประสงค๋
สรุปสาระความต้องการ
สร้างความคุ้นเคย ไว้ใจ
ขั้นสำรวจปัญหา
เป้าหมายเพ่อเอื้ออำนวย ดึงศักยภาพมาใช้สำรวจปัญหา
ได้สำรวจตนเอง เข้าใจตนเอง
เปิดโอกาสให้ระบายเรื่องราว ต่างๆ
ขั้นเข้าใจปัญหา สาเหตุความต้องการ
พยาบาลช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการปรึกษาใช้ศักยภาพค้นหาวิธีการแก้ปัญหาและตัดสินใจทางเลือก
ผู้ป่วยสามารถมองเห็นภาพและทำความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจนครบถ้วน
เลือกแนวทางด้วยตนเอง และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่มาวางแผนแก้ปัญหา
ขั้นวางแผนแก้ปัญหา
เอื้ออำนวยสนับสนุนให้ cl วางแผนแก้ไข ปัญหาด้วยตนเอง
ขั้นยุติการให้คำปรึกษา
ปัญหาได้คลี่คลายแล้ว ผู้ให้การปรึกษาไม่สามารถจัดการได้
บทบาท สรุปเรื่องที่พูดคุย ส่งเสริมให้ผู้รับคำปรึกษาได้เห็นคุณค่าตนเอง
นัดหมายสนทนาครั้งถัดไป
กระบวนการให้คำปรึกษารายบุคคล
Tuning in การสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
Identify split ค้นหาความไม่สอดคล้องในใจ ความทุกข์ใจ
Realization การเข้าใจเห็นจริง ในปัญหาและแนวทางการแก้ไข
ลักษณะของปัญหา
ปัญหาด้านอารมณ์ ความคิด
ปัญหาส่วนตัว
ปัญหาด้านการปรับตัว การแก่ไขปัญหาการตัดสินใจสถาพการ์ณ
อุปสรรคในการ counseling
ผู้ให้การปรึกษา
ไม่มีความมั่นใจ กลัว เวลามีจำกัด ความพร่อง ไม่มีความรู้เรื่องโรค ประสบการณ์น้อย
การให้คำปรึกษาเป็นกลุ่ม
Group counseling
2 คนขึ้นไป หรือ 6-10. คน
ในกลุ่มปรกอบด้วย ผู้นำ และสมาชิก หรืออาจมีผู้ช่วยผู้นำ
เข้ากลุ่มอย่างต่อเนื่อง ไม่ต่ำกว่า 1 ครั้ง ครั้งละไม่ต่ำกว่า 90 นาที
แบ่งได้ดังนี้
ตามลักษณะการรับสมาชิก
กลุ่มเปิด : รับสมาชิกเพิ่มได้ ไม่มีปัญหา
กลุ่มปิด : ไม่เปิดรับสมาชิกใหม่ แม้จะเหลือน้อยก็ตาม
ตามเทคนิคการดำเนินกลุ่ม
กลุ่มที่มีโครงสร้างการดำเนินกลุ่ม : กลุ่มที่กำหนดจุดมุ่งหมาย หัวข้อสนทนา สมาชิกไม่ค่อยกระตือรือร้น
กลุ่มที่ไม่มีการกำหนดโครงสร้างการดำเนินกลุ่ม หัวข้อในกลุ่มมาจากสมาชิก สมาชิกกระฉับกระเฉง
แบ่งตามวัตถุประสงค์การรักษา
กลุ่มที่ทำให้เกิดความรู้จักและเข้าใจปัญหา
กลุ่มบำบัดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
กลุ่มเพื่อเพิ่มความเจริญงอกงามให้ตนเอง
กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม
เนื้อหา : คำพูดที่จะอภิปราย
กระบวนการ : ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
ระยะเริ่มต้น ยังไม่รู้จักกัน ต้องทำให้ผ่อนคลาย แนะนำตัวทำความรู้จักกัน
ระยะกลางสมาชิกระบายพูดคุยถึงปัญหา แลกเปลี่ยนประสบการ์ณกัน
ระยะยุติ สิ้นสุด
ปัจจัยบำบัด
การมีความหวัง
ความรู้สึกอันเป็นสากล
การได้รับข้อมูล
การรู้สึกได้ทำประโยชน์
การแก้ไขประสบการณ์เดิมในครอบครัว
การพัฒนาเทคนิคเพื่อเข้าสังคม
การเลียนแบบพฤติกรรม
การระบายอาราย
9ง. การเรียนรู้ความจริงอันเป็นสัจธรรม
ความรู้สึกผูกพันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
การเรียนรู้ที่จะติดต่อและสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
การให้บริการปรึกษาทางโทรศัพท์
Counseling by telephone
มีการติดต่อสื่อสารกันสองทางโดยไม่มีการเผชิญหน้าแต่จะใช้เสียงเป็นสื่อ เช่น 1323 1165
จุดมุ่งหมาย
การป้องกันปัญหา
การแก้ไขปัญหา
ส่งเสริมการพัฒนาตนเอง
คุณลักษณะผู้ให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์
มีวุฒิทางอารมณ์
ทักษะการสื่อสารที่ดี
ทัศนคติที่ดี
สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคในการให้คำปรึกษาได้
ขั้นตอนการให้คำปรึกษา
ขั้นเริ้มต้น
ถามถึงสาเหตุที่โทรมา สิ่งที่ทำให้ไม่สบายใจ ระบายความรู้สึก
เน้น empathy
ระยะกลาง
ช่วยให้ cl สำรวจความคิด ความรู้สึก และทำความเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการของตนเอง รวมถึงกำหนดทางเลือก ต้องพยายามจับจุด กระตุ้นให้คิดทางเลือก ในการแก้ไขปัญหา รวมถึงสรุปเรื่องราว
ขั้นยุติการให้คำปรึกษา
เมื่อรู้สึกว่าเผชิญปัญหาได้ ให้จบการสนทนา เชื้อเชิญให้โทรมาอีก
เมื่อไม่สามารถช่วยได้ ให้ส่งต่อแหล่งช่วยเหลืออื่นๆ