Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ความหมาย
เป็นโรคที่กําลังมีการดําเนินของโรคและเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ
เป็นโรคที่ร้ายแรง ทําให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
การพยากรณ์โรคจํากัด คือ พอจะคาดคะเนระยะเวลาที่จะเสียชีวิตได้
เป้าหมายของการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
เป้าหมายหลัก
เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตท้ังผู้ป่วยและครอบครัว ทําให้ผู้ป่วยได้เสียชีวิตอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
การดูแลผู้ป่วยในหออภิบาลคุณภาพชีวิต(Quality of Life Care Unit)ประกอบด้วย 8 ประเด็น ได้แก่
โครงสร้างและกระบวนการดูแล
การดูแลทางร่างกาย
การดุแลทางจิตใจ
การดูแลทางสังคม
การดูแลทางจิตวิญญาณ ศาสนา
การดูแลในบริบทของวัฒนธรรมประเพณี
การดูแลระยะก่อนตาย
บริบทของจริยธรรมและกฎหมาย
ประเด็นท่ี 1 โครงสร้างและกระบวนการดูแล
ทีมสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
แพทย์/จิตแพทย์แพทย์
พยาบาล
เภสัชกร
โภชนากร
นักสังคมสงเคราะห์
อาสาสมัคร/จิตอาสา
ผู้นําศาสนา/ผู้นําทางความเชื่อและพิธีกรรม
นักจิตวิทยา
กรอบแนวคิดการจัดบริการผู้ป่วยระยะท้าย
ดูแลผู้ป่วยครอบครัว
บริการผู้ป่วยตามระบบบริการสุขภาพ
อาสาสมัครมาร่วมทํากิจกรรมกับผู้ป่วยและครอบครัว
กระบวนการให้คําปรึกษาแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
การประเมินสภาพจิต
การดูแลภาวะเศร้าโศก
ประเด็นท่ี 2 การดูแลทางด้านร่างกาย
ผู้ป่วยที่ควรได้รับการดูแลแบบผู้ ' ป่วยระยะท้าย
ผู้ป่วยที่ควรได้รับการดูแลแบบผู้ป่วยระยะท้ายได้แก่ผู้ป่วยที่มีลักษณะดังกล่าวข้างต้น ซึ่งโดยทั่วไปมักหมายถึงผู้ป่วยด้วย โรคมะเร็งในขณะที่โรคเรื้อรังอื่นๆ เช่น AIDS, stroke, COPD, congestive heart failure หรือ chronic renal failure นั้น ผู้ป่วย อาจจะมีอาการคงที่ได้นานๆ หรือมีช่วงเวลาที่โรคสงบ
การดูแลรักษาปัญหาทางกายอื่นๆ
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายมักต้องทนทุกข์ทรมานกับอาการผิดปกติต่างๆ ซึ่งส่งผลทําให้กิจวัตรประจําวันเป็นไปด้วยความ ยากลําบาก หากไม่ได้รับการบรรเทา ผู้ป่วยจะเกิด ความรู้สึกหวาดกลัวและสิ้นหวังในชีวิตได.
ประเด็นที่ 3 การดูแลทางจิตใจ (Psychology)
ซักประวัติการเจ็บป่วยทั่วไป
การประเมินด้านจิตใจ
ประเมินปฏิกิริยาต่อการเจ็บป่วย เพื่อวางแผนให้การรักษาพยาบาล
ระยะและปฏิกิริยาต่อการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
ระยะช็อกและปฏิเสธ
ระยะโกรธ
ระยะต่อรอง
ระยะซึมเศร้า
ระยะยอมรับ
ประเด็นที่ 4 การดูแลทางสังคม การประเมินปัญหาด้านสังคมท่ีส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย
• การประเมินสังคมของผู้ป่วยควรประกอบด้วยการประเมินโครงสร้างความสัมพันธ
• การให้การดูแลทางด้านสังคมควรตอบสนองปัญหาและความต้องการ
• ควรประสานงานกับกลุ่มหรือองค์กรชุมชนหรือหน่วยงานอื่น
ประเด็นที่ 6 การดูแลในบริบทของวัฒนธรรม ประเพณี
การดูแลด้านวัฒนธรรม
การประเมินปัจจัยทางด้านวัฒนธรรมของผู้ป่วยและครอบครัวจะทําให้เข้าใจความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
ภาษา ความต้องการ มุมมอง
ประเด็นที่ 5 การดูแลทางด้านจิตวิญญาณ ศาสนา การดูแลด้านจิตวิญญาณ
การพยาบาลด้านจิตวิญญาณ
ความรักและความสัมพันธ์
การค้นหาความหมายของชีวิตและการเจ็บป่วย
การขออโหสิกรรมหรือการให้อภัย
การปฏิบัติตามหลักศาสนา
ความหวัง
ประเด็นท่ี 7 การดูแลระยะก่อนตาย
ความเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ประเด็นที่ 8 บริบทของจริยธรรมและกฎหมาย
• ต้องให้ผู้ป่วยที่มีสติสัมปชัญญะดีแสดงความยินยอมในการรักษาเสมอโดยอาจทําด้วยวาจา
• Advanced care planning