Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิดที่ต้องได้รับการช่วยเหลือตั้งแต่แรกเกิ…
การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิดที่ต้องได้รับการช่วยเหลือตั้งแต่แรกเกิด
imperforate anus
ไม่มีรูทวารหนักเปิดให้อุจจาระออก
เกิดในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
พยาธิสภาพ
ทารกท้องผูก ถ่ายอุจจาระลำบาก
เพศชายมีอาการถ่ายขี้เทาออกทางท่อปัสสาวะ
เพศหญิงมีอาการถ่ายขี้เทาออกทางช่องคลอด
ชนิดความผิดปกติ
Anal stenosis
Imperforate anal membrane
Anal agenesis
Low type
Intermediate type
High type
Rectal atresia
อาการและอาการแสดง
ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน 24 ชั่วโมง
ไม่พบรูเปิดทางทวารหนัก
ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้
กระสับกระส่าย อึดอัด ไม่สบายตัว
แน่นท้อง ท้องอืด
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจรังสีวินิจฉัย
ultrasound
CT scan
MRI ตรวจความผิดปกติของไขสันหลัง
การรักษา
Low type
การถ่างขยายทวารหนัก
การผ่าตัด anal membrane
การผ่าตัดตบแต่งทวาร
Intermediate type
การทำทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง
การผ่าตัดตบแต่งทวาร
ภายหลังผ่าตัด 2 สัปดาห์แพทย์จะเริ่มถ่างขยายรูทวารหนัก
เพิ่มขนาดของ hegar สัปดาห์ละ1 มิลลิเมตร
การพยาบาลระยะถ่างขยายทวารหนัก
สอนการดูแลในการถ่างขยายรู
ถ้ามีการอักเสบให้แช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
แนะนำให้บิดามารดาให้อาหารตามวัยของเด็กที่มีประโยชน์สูง
การพยาบาลหลังผ่าตัดเปิด Colostomy
ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล
เลือกขนาดของปากถุงให้ตรอบปิดกระชับ พอดีกับขนาดทวารเทียม
สังเกตุการรั่วซึมทุก 2 ชั่วโมง
สังเกตุการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆ
แนะนำอาหารย่อยง่ายโปรตีนสูง แคลอรีสูง มีกากใยมาก
สังเกตและบันทึกอุจจาระ
การพยาบาลระยะก่อนและหลังผ่าตัดตกแต่งทวารหนัก
ทำความสะอาดแผลผ่าตัด 8-10 วันตามแผนการรักษา
แช่ก้นด้วยน้ำอุ่นกระตุ้นการไหลเวียนและลดการอักเสบ
ดูแลผิวรอบๆทวารหนักด้วยน้ำ
ให้คำแนะนำหลังผ่าตัด 7-10 วันไม่ให้นอนกางขา
ฝึกขับถ่ายอุจจาระเมื่ออายุ 18-24 เดือน
อาการท้องผูก ดูแลเรื่องอาหาร
ปัญหาที่พบได้หลังผ่าตัด
ทวารหนักตีบจากกลไกการหดรั้งตัวของแผล
ท้องผูก
กลั้นอุจจาระไม่ได้
Omphalocele/ Gastroschisis
Gastroschisis
ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์
ไส้เลื่อนสะดือแตกตอนอยู่ครรภ์
Omphalocele
ผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ทำให้ช่องท้องไม่ปิด
เกิดจากควมบกพร่องของช่องท้องในแนวกลางตัว ทำให้อวัยวะในช่องท้องเคลื่อนออกมาทางฐานของสายสะดือ
ในภาวะไส้ตีบตันในGastroschisis พบได้บ่อยกว่าใน Omphalocele
Omphalocele อาจมีความผิดปกติอื่นด้วย เช่น ความผิดปกติของหัวใจพบได้บ่อย รองลงมาความผิดปกติของระบบประสาท ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะและ ท่อสืบพันธ์ุ
การวินิจฉัย / อาการ
อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ ตรวจ ultrasound สามารถวินิจฉัยได้ทั้ง 2 โรค
การที่ไม่มีผนังหน้าท้องทำให้ไส้ปนเปื้อนสิ่งสกปรกทำให้ติดเชื้อได้
อาจพบความผิดปกติบริเวณลำไส้
เด็กอาจมีไข้ หรือ ช็อกจากการสูญเสียน้ำได้
การรักษา
จุดประสงค์เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
Omphalocele ขนาดไม่ใหญ่มาก อาจใช้แผ่น Silastic ปิดทับถุง Omphalocele พันด้วยผ้ายืด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรก
ดันลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้องแล้วเย็บปิด
การผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเป็นขั้นตอน
ในกรณีที่ดันลำไส้กลับไม่หมด หรือดันแล้วหน้าท้องตึง
แพทย์ทำถุงให้ลำไส้อยู่ชั่วคราวแล้วค่อยๆบีบไล่ถุงกลับเข้าช่องท้อง
ใช้เวลา 5 วันไม่เกิน 7 วัน
บีบลำไส้เข้าสู่ช่องท้องแล้วบีบถุงวันละเปลาะ
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
keep warm
ระวังการ contaminate
พยายามปั้นประคองกระจุกลำไส้ให้ตั้งโดยใช้ผ้า gauze ม้วนพันประคองไม่ให้ล้มพับ
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การพยาบาลขณะรอผ่าตัด
ประคองลำไส้ไม่ให้พับ
นอนตะแคงเพื่อลดโอกาสที่เลือดมาเลี้ยงไม่สะดวก
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับเครื่องช่วยหายใจ 24-48 ชม.
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหาร
ติดตามการทำงานของลำไส้ ฟัง bowel function
สังเกตุอาการระวังเกิด Abdominal compartment syndrome
ท้องอืดอย่างรุนแรง ปัสสาวะน้อยลง
เกิดความดันในช่องท้อง
ให้ยาระงับปวด
จัดท่านอนราบ
ใส่สายสวนกระเพาะอาหารและลำไส้
ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ
ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ ฟอกไตเพื่อขับน้ำออกจากร่างกาย
การผ่าตัดลดความดันช่องท้อง
ACS ส่งผลกระทบกับผู้ป่วยหลายระบบ
Epiapadia / Hypospadias
Epiapadia รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านบน
Hypospadias รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ
ผลกระทบ
ปัสสาวะไม่พุ่วเป็นลำไปด้านหน้า แต่ไหลตามด้านหน้าของขา
องคชาตคดงอเมื่อมีการแข็งตัว องคชาตดูแตกต่างจากปกติ
Hypospadia
Anterior or distal or mild
รูเปิดท่อปัสสาวะมาเปิดทางด้านหน้า
Middle or moderate
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ตรงกลางองคชาต
Posterior or proximal or severe
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ใต้องคชาต
การรักษา
ผ่าตัดในกรณี
เด็กมีรูเปิดต่ำกว่าเล็กน้อยแต่เวลาถ่ายไม่พุ่งเป็นลำตรง
เด็กที่มีความผิดปกติมาก
เวลาที่เหมาะแก่การผ่าตัด อายุ 6-18 เดือน แต่ไม่ควรเกิน 2 ปี เนื่องจากเด็กเริ่มรู้เรื่องเพศ
การผ่าตัดแก้ไขรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ
การผ่าตัดแบบขั้นตอนเดียว
การผ่าตัดแบบ 2 ขั้นตอน
Orthoplasty
Urethroplasty
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
เลือดออก
เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ
มีรูตรงบริเวณรอยต่อระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวะเก่ากับท่อปัสสาวะที่สร้างใหม่
องคชาตยังโค้งงอ
เกิดการติดเชื้อ
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อธิบายขั้นตอนการเตียมการผ่าตัด
ประเมินความวิตกกังวล
ให้ความรู้เรื่อง ผลของการผ่าตัด การปวดหลังผ่าตัด
จัดให้เด็กนอนในท่าที่สบาย ยึดสาย Uretra หรือสาย Cystostomy ให้อยู่บริเวณหน้าท้องหรือต้นขา
ประเมินความปวดของเด็ก
เก็บปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
ใช้เทคนิคปลอดเชื้อในการทำแผลและการเทปัสสาวะ
ประเมินบริเวณสาย Cystomy ไม่ให้เกิดการติดเชื้อ
คำแนะนำเมื่อกลับบ้าน
กระตุ้นให้เด็กดื่มน้ำมากๆ
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยานหรือนั่งคร่อมของเล่น ว่ายน้ำ และกิจกรรมรุนแรง
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียก ทำความสะอาดร่างกายโดยการเช็ดตัว ห้ามอาบน้ำในอ่าง
แนะนำสาธิตบิดามารดา ดูแลสายสวนปัสสาวะโดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ ทำความสะอาดวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังถ่ายอุจจาระ
อธิบายการติดเชื้อ เช่น มีไข้ แผลแดง
ภายหลังเอาสายสวนออกให้สังเกตปริมาณปัสสาวะ
ความพิการแต่กำเนิด หมายถึง ความผิดปกติของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา
ความผิดปกติของส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของร่างกายเป็นผลมาจากการเจริญผิดปกติของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์
ความพิการแต่กำเนิดเป็นภาวะที่พบได้บ่อย
ข้อมูลจากทั่วโลกพบทารกที่มีความพิการแต่กำเนิดกว่า 8 ล้านคน
ในประเทศไทยพบ 24,00-40,000รายต่อปี
ความพิการแต่กำเนิดจำแนกตามกลไกการเกิด
Malformation
ลักษณะของอวัยวะที่ผิดรูปร่างไป
เกิดจากกระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิดปกติ
เช่น ปากแหว่ง เพดานโหว่ นิ้วแยกกันไม่สมบูรณ์ นิ้วเกิน ติ่งบริเวณหน้าหู เท้าปุก
Deformation
เกิดจากการการมีแรงกระทำจากภายนอกทำให้อวัยวะผิดรูประหว่างการพัฒนา
เช่น เท้าปุก ข้อติด ภาวะเนื้องอกมดลูกในมดลูก
Disruption
ภาวะโครงสร้างของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติ
เกิดจากเจริญพัฒนาอวัยวะ ไม่ใช่พันธุกรรม
Dysplasia
เป็รความผิดปกติระดับเซลล์เนื้อเยื่อ
ลักษณะตัวเตี้ย แขนขาสั้น ศรีษะโต สันจมูกแบน
กลุ่มอาการที่พบได้บ่อยของความพิการผิดปกติ
อาการดาวน์
โรคหลอดประสาทไม่ปิด
ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่
แขนขาพิการแต่กำเนิด
โรคกล้ามเนื้อเสื่อมพันธุกรรม
สาเหตุการพิการผิดปกติ
ไม่ทราบชัดเจน แต่อาจเกี่ยวกับ
พันธุกรรม
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม
มารดามีอายุมากเกินไป จากสถิติมารดามีบุตรคนแรกเกิน 35 ปี บุตรมีโอกาสเกิดความพิการได้มาก
โรคติดเชื้อ เช่นหัดเยอรมัน
ขาดอาหาร ขาดวิตามิน
มารดากินยาหรือสารเสพติด
มารดาได้รับสารเคมีจากสิ่งแวดล้อม
รังสีเอ๊กซ์ รังสีแกรมม่า
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ หรือภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ความผิดปกติ
ปากแหว่งเพดานโหว่
ปากแหว่งหมายถึงความผิดปกติบริเวณริมฝีปากเพดานส่วนหน้าแยกออกจากกัน
เพดานโหว่หมายถึงความผิดปกติบริเวณเพดาส่วนหลังแยกจากกัน
สาเหตุยังทราบไม่ชัดเจนมีส่วนเกี่ยวกับ
พันธุกรรม
ภาวะแวดล้อมขณะอยู่ในครรภ์
ภาวะขาดวิตามินหรือได้รับมากเกินไปจ
การติดเชื้อไวรัส
ยาและสารต้านการเจนริญของร่างกาย
อาการและอาการแสดง
การดูดกลืนผิดปกติ
เกิดการสำลัก
หายใจลำบาก
อาจติดเชื้อในหูชั้นกลางทำให้มีปัญหาการได้ยินผิดปกติ
การวินิจฉัย
ตรวจได้ด้วยการ ultrasound
ซักประวัติเพื่อหาสาเหตุทางพันธุกรรม
การตรวจร่างกาย
การรักษาอาการปากแหว่ง
การผ่าตัด
ต้องรอให้กายวิภาคริมฝีปากโตพอสมควร
การรักษาเพดานโหว่
ต้องอาศัยดูแลจากสหวิชาชีพ
ใส่เพดานเทียมเพื่อปิดเพดานช่องโหว่ป้องกันการสำลัก
การผ่าตัดเปลี่ยนเพดาน
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
บิดามารดาวิตกกังวลเกี่ยวกับการพิการแต่กำเนิด
ประเมินความวิตกกังวลของบิดามารดา
เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถามอาการ
ให้ข้อมูลแนะนำเกี่ยวกับอาการป่วย
ปลอบโยนให้กำลังใจให้คำแนะนำลดความเครียด
บิดามารดาขาดความรู้เกี่ยวกับโรค
ประเมินความรู้ตวามเข้าใจของบิดามารดา
อธิบายการผ่าตัดและผลการรักษา
สอนการป้อนนมอย่างถูกวิธี
แนะนำการดูแลในก่อน หลังการผ่าตัด
เสริมแรงกำลังใจ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ดูแลให้นมอย่างถูกวิธี
รักษาความสะอาดช่องปาก
ดูดเสมหะ
สังเกตุการผิดปกติ
ชั่งน้ำหนักทารก
มีโอกาสขาดสารน้ำสารอาหารจากการดูดกลืนผิดปกติ
TE fistula
หมายถึงการมีรูติดต่อระหว่างหลอดลมกับหลอดอาหาร
ในขณะที่เป็นตัวอ่อนเนื้อเยื่อหลอดลมและหลอดอาหารรวมเป็นท่อเดียวกัน
อาการทางคลีนิค
มีน้ำลายมากไอ
สำลักง่าย สำรอก
ท้องอืด
มีอาการปอดอักเสบร่วมด้วย
การวินิจฉัย
พบในมารดาที่มี ponyhydramnios
ใส่ NG TUBE ลงไปได้ไม่ตลอด
X ray พบลมในกระเพาะอาหาร
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
จัดท่านอนเหมาะสม
พลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
on NG Tube
ให้ออกซิเจนกรณีมีภาวะพร่องออกซิเจน
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนรักษา
ดูแลให้สารน้ำทดแทน
ให้อาหาร นม ทาง gastrostomy tube
หลังผ่าตัด
ห้ามใส่ NG tube หรือ suction
ดูดเสมหะไม่ควรเหยียดคอ
กระตุ้นให้เด็กร้องบ่อยๆ
ดูแลการทำงานของ ICD
ดูแลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อาจเกิดปอดแฟบจากการอุดตันของท่อระบาย
จัดท่านอน
ตรวจการทำงานของ ICD
ระวังสายพับงอ
บันทึก ลักษณะ สี Discharge
อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดและแผล
ทำแผลวันละ 2 ครั้ง
สังเกตการติดเชื้อ
ให้ยา antibiotic ตามแผนรักษา