Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
METABOLISM - Coggle Diagram
METABOLISM
มี 2 กระบวนการ
กระบวนการสร้าง (anabolism)
ความหมาย
กระบวนการสร้างของกระบวนการเมตาบอลิซึม โดยต้องอาศัยพลังงาน โดยจะสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่จากโมเลกุลขนาดเล็ก
กระบวนการสลาย (catabolism)
ความหมาย
กระบวนการสลายของกระบวนการเมตาบอลิซึม โดยโมเลกุลขนาดใหญ่จะแตกสลายเป็นโมเลกุลขนาดเล็ก
สารอาหารและพลังงาน
จะถูกเปลี่ยนเป็นปัจจัย 3 ประการ ได้แก่
2) อิเล็กตรอน (electron)
โดยสารชีวเคมีที่สามารถรับและถ่ายอิเล็กตรอนได้ในเมแทบอลิซึม คือ
NADP+
เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วจะอยู่ในสภาพรีดิวซ์ (NADPH) เมื่อถ่ายอิเล็กตรอนแล้ว ก็จะกลับไปอยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (NADP+) ได้เหมือนเดิม
FAD
เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วจะอยู่ในสภาพรีดิวซ์ (FADH2) เมื่อถ่ายอิเล็กตรอนแล้ว ก็จะกลับไปอยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (FAD) ได้เหมือนเดิม
NAD+
เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วจะอยู่ในสภาพรีดิวซ์ (NADH) เมื่อถ่ายอิเล็กตรอนแล้ว ก็จะกลับไปอยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (NAD+) ได้เหมือนเดิม
ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้อง
ปฏิกิริยา oxido – reduction หรือปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox reaction)
บางชนิดให้พลังงานชีวเคมีเพื่อสร้างสาร ATP ได้
เป็นปฏิกิรยาที่เกิดขึ้นจำนวนมากในกระบวนการเมตาบอลิซึม
3) สารต้นตอสำหรับกระบวนการชีวสังเคราะห์สังเคราะห์ (biosynthetic precursor)
ได้แก่สารที่มีโครงสร้างง่ายๆ นับตั้งแต่คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แอมโมเนีย (NH3) อะซิเตต (CH3COO-) รวมไปถึงกลูโคสและกรดอะมิโนที่ร่างกายได้จากการย่อยสลายอาหาร
1) พลังงานชีวเคมี (biochemical energy)
ทำการสลาย ATP ให้แตกตัวเป็น ADP และฟอสเฟต ซึ่งจะได้พลังงานเป็นจำนวนมาก โดยจะนำพลังงานนี้ไปช่วยผลักดันในปฏิกิริยาที่ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้ให้สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น ปฏิกิริยาการสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ เป็นต้น
วิถีเมตาบอลิซึม (pathway of metabolism)
ได้แก่
แบบแตกกิ่ง(branched sequence)
เมื่อถึงจุดที่แตกกิ่ง สารตั้งต้นจะเกิดปฏิกิริยาได้มากกว่า 1 ปฏิกิริยา
แบบวัฏจักร(cycle)
ไม่มีจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุด
แบบเชิงเส้น(linear sequence)
สารตั้งต้นเกิดปฏิกิริยาแบบเดียวไปเรื่อยๆ