Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระงับปวด/ลดไข้/ ลดการอักเสบ, นางสาวเมมธาวลัย ชัยรักษา sec.1 …
ยาระงับปวด/ลดไข้/ ลดการอักเสบ
ยาแก้ปวด (Analgesics)
ผลกระทบของความปวด
ความสัมพันธ์กับผู้อ่ืน
กิจกรรมโดยทั่วไป
ภาระค่าใช้จ่าย
ความเครียด
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์, ภาวะซึมเศร้า
การนอนหลับ
วิธีจัดการความปวด
การรักษาโดยการใช้ยา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
การผ่าตัด
การแพทย์ทางเลือก
เวชศาสตร์ฟื้นฟู
ชนิดเสพติดโอปิออยด์ (opioid analgesics)
กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้งไม่รุนแรง
ทรามาดอล
โคเดอีน
กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้งรุนแรง
มอร์ฟีน
เฟนตานิล
เพทธิดีน
ชนิดที่ไม่เสพติด (non-narcotic analgesic)
ยากลุ่มเอ็นเสด (NSAIDs)
ยาพาราเซตามอล
ข้อควรระวังการบริหารยา
ห้ามบด-เคี้ยว
ให้ทางสายยาง
ยามอร์ฟีนชนิดแคปซูล
สามารถแกะแคปซูลออกเพื่อผสมน้ำให้ทางสายยางให้อาหารได้ หลังให้ยาควรตามด้วยน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้ยาค้างอยู่ในสายยาง
ถ้าหากผู้ป่วยกลืนล าบาก สามารถถอดปลอกแคปซูลและโปรยเม็ดยาเล็กๆลงบนอาหารอ่อน
เช่น
โยเกิรต์
แยม
บดแบ่งได้
กินแล้วทำให้ติดยา
การติดยาทางกาย (Physical dependence)
เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ยาอย่างต่อเนื่องแล้วหยุดยากะทันหัน หรือรับยาต้านฤทธิ์ยาแก้ปวดกลุ่มเสพติด
การติดยาทางใจ (Psychological dependence)
การติดยา เป็นรูปแบบพฤติกรรมที่อยากยาและมีความต้องการยาตลอดเวลา การกลัวติดยาเป็นปัญหาที่ทำให้ผู้ป่วยปฏิเสธการกินยา
วิธีการลดไข้
ยาลดไข้ เป็นเพียงยาบรรเทา ไม่ใช่ยารักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดไข้
การดื่มน้ำมากๆ
การเช็ดตัว อาศัยการพาความร้อนของน้ำ ช่วยให้หลอดเลือดขยายตัวระบายความร้อน
การเช็ดตัว ทำต่อเนื่องจนกว่าไข้จะลด
พักผ่อนในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ใส่เสื้อผ้าโปร่งสบาย ทำให้ร่างกายระบายความร้อนได้ดี
ยาลดไข้
ยาเอ็นเสด
เช่น
ไอบูโพรเฟน
เป็นแก้ปวดในกลุ่มเอ็นเสด
สามารถลดไข้ได้ แต่ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
ห้ามใช้ยาในผู้ป่วยที่สงสัยเป็นไข้เลือดออก หรือ มีเลือดออกง่าย
ห้ามใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติหอบหืด
ตัวอย่างอาการข้างเคียงของยาไอบูโพรเฟน
ระบบทางเดินอาหาร
ทำให้เกิดคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง แผลในกระเพาะอาหาร
ตับ
เอนไซม์ตับผิดปกติ ตับอักเสบ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ทำให้เกิดการคั่งน้ าในร่างกาย ความดันโลหิตสูงขึ้น
ระบบหายใจ
อาการหอบหืดกำเริบ
ระบบไต
ไตวายเฉียบพลัน
ยาพาราเซตามอล (Paracetamol)
พาราเซตามอลที่เป็นยาเดี่ยวจะบรรเทาอาการปวดขั้นอ่อนถึงปานกลาง และใช้เป็นยาลดไข้
ต้องระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาอื่นที่มีพาราเซตามอลเป็นส่วนประกอบเพราะอาจท าให้ได้รับยาเกินขนาด
ระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคตับ
สามารถใช้ได้ในหญิงตั้งครรภ์ หรือ ให้นมบุตร
ขนาดและวิธีใช้ยาพาราเซตามอล
ขนาดยาสูงสุดส าหรับผู้ใหญ่ 4000 มิลลิกรัม/วัน
ขนาดยาสูงสุดในผู้ป่วยที่มีภาวะตับอักเสบรุนแรง 2000 มิลลิกรัม/วัน
แบ่งให้ยาทุก 4-6 ชั่วโมง
ขนาดยา: 10-15 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน (ไม่เกิน 1000 มิลลิกรัมต่อครั้ง)
ขนาดและวิธีใช้ยาพาราเซตามอล
ปรับลดขนาดยา พาราเซตามอล ที่ใช้แต่ละครั้งไม่ให้เกิน 650 มิลลิกรัม และขนาดยาสูงสุดต่อวันคือ 2,600 มิลลิกรัม
ระวังการใช้ร่วมกับยาที่มีส่วนผสมของพาราเซตามอลด้วย
อาการข้างเคียงของยาพาราเซตามอล
เช่น
อาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร เหงื่อออก ได้บ้าง (ไม่บ่อย)
มีรายงานความเป็นพิษต่อตับ เมื่อใช้ยาในขนาดสูงกว่าที่แนะนำ ใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน หรือใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น ตับแข็ง ขาดสารอาหาร ติดสุราเรื้อรัง
ยาสเตียรอยด์
(Steroids)
สเตียรอยด์ธรรมชาติหรือคอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroid) เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex)
ขนาดและวิธีใช้ยา
แตกต่างแล้วแต่ยา และ ข้อบ่งชี้การใช้ยา
ห้ามหยุดยาทันที ต้องค่อยๆปรับขนาดยาลดลง (Taper dose)
รูปแบบการบริหารยากลุ่มสเตียรอยด์
ยารับประทาน
ยาฉีด / ฉีดเข้าข้อ
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นเพื่อรักษาเยื่อบุจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ยาหยอดตา
อาการข้างเคียงของยาสเตียรอยด์
การใช้ยาในขนาดปานกลาง (ปริมาณเกิน 10 มิลลิกรัมต่อวัน ของเพรดนิโซโลน)
การใช้ยาในขนาดสูง (ปริมาณเกิน 30 มิลลิกรัมต่อวัน ของเพรดนิโซโลน หรือเทียบเท่า)
การใช้ยาในขนาดสูงมากๆ (ปริมาณเกิน 100 มิลลิกรัมต่อวัน)
เมื่อลดขนาดยาหรือหยุดการใช้ยา อาการข้างเคียงจะลดลงและหายไปได้
การออกฤทธิ์ของยาลดไข้
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างโพสตาแกรน
ดิน (PGE2)
ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ (thermoregulatory center) ในสมองส่วนไฮโปทาลามัส (hypothalamus)
เพิ่มสารต้านอักเสบอื่นที่มีผลต่อการควบคุมอุณหภูมิ
นางสาวเมมธาวลัย ชัยรักษา sec.1 รหัสนักศึกษา 6301110801035