Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การวิจัยเชิงคุณภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 6 การวิจัยเชิงคุณภาพ
ความหมายและความสำคัญ
ความหมาย
การแสวงหาความรู้หรือค้นหาความจริงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จากปรากฏการณ์และสิ่งแวดล้อมในทุกมิติ โดยอาศัยปรากฏการณ์และแหล่งข้อมูล
ความสำคัญ
การทำความเข้าใจในเชิงลึกมากกว่าการทำความเข้าใจในวงกว้าง มีการศึกษาในระดับเขตและบริบทของสิ่งแวดล้อมที่ทำการศึกษา โดยพิจารณาบริบทรอบข้าง และสิ่งแวดล้อมแบบเป็นองค์รวม นอกจากนี้การวิจัยเชิงคุณภาพยังให้ความสำคัญกับข้อมูลที่เป็นความ รู้สึกนึกคิด คุณค่าของมนุษยและความหมายของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงประวัติบุคคล
การวิจัยเชิงสร้างทฤษฎีจากข้อมูลพื้นฐาน
การวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยา
การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนาหรือมานุษวิทยา
การวิจัยเฉพาะกรณี
การออกแบบและกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ
การตั้งคำถาม
การตั้งคำถามมักใช้คำถามประเภท ทำไม หรืออย่างไร
วิธีการศึกษา
มี 4 วิธี ดังนี้
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม
การสัมภาษณ์เชิงลึก
การสนทนากลุ่ม
การทบทวนเอกสาร
การกำหนดกรอบแนวคิด
เป็นการกล่าวถึงแผนดำเนินงานที่ใช้ในการศึกษา
การกำหนดวัตถุประสงค์
เป็นการกำหนดเป้าหมายที่สำคัญที่สุดของกระบวนการวิจัย
ความเที่ยงตรง
เป็นข้อพึ่งระวังอย่างยิ่ง เนื่องจากอคติในกรวิจัยเชิงคุณภาพมีได้จาก 2 แหล่ง คือ นักวิจัยและผู้ให้ข้อมูล