Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 15 นรีเวช image, เชื้อราในช่องคลอด (Candida vaginitis), image, image…
บทที่ 15 นรีเวช
pelvic Inflammatory Disease : PID
โรคอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน
เป็นการอักเสบอย่างเฉียบพลันหรือเรื้อรังของอวัยวะสืบพันธ์ส่วนบน
ได้แก่ เยื่อบุโพรงมดลูกท่อนำไข่ เยื่อบุช่องท้องในอุ้งเชิงกราน
อาการและอาการแสดง
ชนิดเฉียบพลันพบตกขาวมีกลิ่นเหม็นปวดท้องน้อยทั้ง 2 ข้างมักเกิดหลังมีประจำเดือนใหม่ๆปวดมากตอนเคลื่อนไหวอาจมีเลือดออกกะปริดกะปรอยชนิดเรื้อรัง
การวินิจฉัย
ซักประวัติพบตามปัจจัยเสี่ยง
ตรวจร่างกาย พบไข้สูง > 38 องศาเซลเซียส กดเจ็บท้องน้อยตรวจภายใน
พบ WBC > 10,000 / mm3 และค่า ESR สูงขึ้น
ตรวจพิเศษ เช่น Ultrasonography, Culdocenthesis, Laparoscopy เป็นต้น
การรักษา
ใช้ยาปฏิชีวนะให้ครบตามแผนการรักษา
การพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับกายวิภาค และสรีรวิทยาสตรี
แนะนำการทำความสะอาดร่างกาย และอวัยวะสืบพันธ์อย่างถูกวิธี
แนะนำการรักษาสุขอนามัยทางเพศ
แนะนำให้สังเกตอาการติดเชื้อ ในระบบสืบพันธุ์ เช่น ไข้สูง ปวดท้องน้อย ตกขาวผิดปกติ คัน
หลีกเลี่ยงการมี เพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe sex)
ไม่สวนล้างช่องคลอด หรือทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
แนะนำการคุมกำเนิดที่เหมาะสม
แนะนำสตรีทีมีเพศสัมพันธ์แล้วให้มาตรวจภายในอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
แนะนำการวางแผนครอบครัวโดยการตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และประวัติทางพันธุกรรม
ประเมินภาวะติดเชื้อ วัดV/S ทุก 4 ชม. โดยเฉพาะอาการไข้สูง>38 องศาเซลเซียส
NPO เพื่อเตรียมผ่าตัดใน Acute PID
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอน Fowler’s Position เพื่อจำกัดให้หนอง หรือสิ่งคัดหลั่งขังอยู่บริเวณ Cul-de-sac เพื่อไม่ให้ลุกลามไปในอุ้งเชิงกราน
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก Universal Precaution Technique
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะและ IVF ตามแผนการรักษา สังเกตอาการแพ้ยา Anaphylactic shock โดยเฉพาะกลุ่มยาเพนนิซิลิน
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และพักผ่อนอย่างเต็มที่
แนะนำให้ผู้ป่วยรักษาความสะอาดร่างกายทั่วไปล้างทุกครั้งก่อน และหลังการขับถ่าย
การพยาบาลเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ให้ความรู้เกี่ยวกับช่องทางการติดต่อและการแพร่กระจายไปสู่บุคคลอื่น
แนะนำให้คู่นอนมารับการตรวจรักษาด้วย
งดการมีเพศสัมพันธ์ไว้ก่อนหรือใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
sexual transmitted disease
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวประมาณ 1-14 วันปัสสาวะแสบขัดปัสสาวะลาบากมีหนองไหลออกมาจากท่อปัสสาวะ
การวินิจฉัย
ย้อมสี Gram Stain การเพาะเชื้อ , การตรวจหาหน่วยทางพันธุกรรม
หนองใน (Gonorrhea)
หนองในเทียม (Non-gonoccal urethritis)
อาการและอาการแสดง : ระยะฟักตัวประมาณ 7-21 วันตรวจภายในพบปากมดลูกอักเสบมักพบบริเวณ Transformation zone ของปากมดลูกท่อปัสสาวะอักเสบ (urethritis) ปีกมดลูกอักเสบ (adnexitis)
ซิฟิลิส (Syphilis)
อาการและอาการแสดง : ระยะฟักตัวประมาณ 21 วัน
การวินิจฉัยตรวจ VDRL หรือ RPR ถ้าผลบวกต้องตรวจ TPHA (Treponemapallidumhemagglutination assay)
การรักษา ใช้ยา Penicillin โดยรักษาได้ทุกระยะของโรค
แผลริมอ่อน (Chancroid)
อาการและอาการแสดง : ระยะฟักตัวประมาณ 1-6 วันมีแผลที่อวัยวะเพศลักษณะนุ่มขอบไม่แข็ง (Soft chancre)
การรักษา : Zithromax 1.0 gm (250mg x 4 tablets)
เริม (Herpes simplex)
อาการและอาการแสดง : ลักษณะตุ่มใสเล็กๆคันปวดแสบร้อนในผู้ติดเชื้อครั้งแรกอาจมีอาการไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ต่อมน้ำเหลืองโต
การรักษา : Acyclovir 200 mg for 5 times a day
กามโรคของท่อและต่อมน้ำเหลือง (Lymphogranulomavenereum: LGV)
อาการและอาการแสดง : มีแผลอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกส่วนล่าง รูท่อปัสสาวะ แคมใหญ่ แล้วแตก
การรักษา : Doxycycline 100 mg. / Erythromycin 500 mg.
หูดหงอนไก่ (Condyloma acuminate, Genital wart)
อาการและอาการแสดง : ระยะฟักตัว 2-3 เดือนมีลักษณะติ่งเนื้อ สีชมพูหรือสีขาว (warts) ผิวขรุขระเป็นหยักคล้ายหงอนไก่ หรือดอกกะหล่ำ (Cauliflower) บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การรักษา : การผำตัดด้วยเครื่องจี้ไฟฟ้า และใช้ยาป้าย
หูดข้าวสุก (Molluscumcontagiosum)
อาการและอาการแสดง : ลักษณะเป็นตุ่มแข็งเล็กๆที่มีรอยบุ๋มที่ส่วนบน (Central Umbilication)
โรคติดเชื้อทางนรีเวช
infection
bacteria
ตกขาว (Leukorrhea)
อาการ ตกขาวที่มีทั้งปริมาณลักษณะสีหรือกลิ่นที่แตกต่างจากตกขาวปกติก่อให้เกิดความรำคาญ คันช่องคลอด มีกลิ่นเหม็นปวดแสบปวดร้อน ปัสสาวะแสบขัด เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์
fungus
parasites
พยาธิในช่องคลอด (Trichomonas Vaginitis)
อาการและอาการแสดง : ระยะฟักตัวนาน 3 สัปดาห์ ตกขาวมีสีเหลืองปนเขียวปริมาณมากมีกลิ่นเหม็น และ เป็นฟอง (Frothy)
การรักษา : Metronidazole 2 gm. a single dose or 500 mg Bid x 7 days
sexual transmitted disease
Dysmenorrhea
& Post menstrual bleeding
ชนิดปฐมภูมิ (Primary dysmenorrhea) อาการปวดที่ไม่พบพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน
ชนิดทุติยภูมิ (Secondary dysmenorrhea) เป็นอาการปวดที่เกิดจากการมีพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน
Dysmenorrhea
1.ให้คำแนะนำที่ถูกต้องเกี่ยวกับสรีรวิทยาของการมีระดู แก่สตรีวัยรุ่น
2.แนะนำวิธีการบรรเทาความไม่สุขสบายของอาการปวดระดู
3.แนะนำการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เช่น การออกกำลังกายสม่ำเสมอ
อธิบายวิธีการใช้ยา สรรพคุณของยา ข้อดี ข้อเสีย และผลข้างเคียงที่เกิดจากการใช้ยาเป็นเวลานาน
สร้างทัศนคติที่ดีต่อการมีระดูและความภาคภูมิใจในเพศของตน
Post menstrual bleeding
ภาวะเลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก
การพยาบาล
ประเมินความรุนแรงของการเสียเลือดและป้องกันภาวะซีดติดตามผล Hematocrit
ป้องกันภาวะช็อค โดย Record V/S, I/O, สังเกตภาวะช็อค
ป้องกันการติดเชื้อ ดูแลการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ในรายที่ต้องผ่าตัดพยาบาลเตรียมผู้ป่วยก่อนและหลังการผ่าตัด
ประคับประคองจิตใจ
การขูดมดลูก
การปฏิบัติตนหลังการขูดมดลูก
หลังจากการขูดมดลูกอาจมีเลือดออกกะปริดกะปรอยได้บ้าง
2.อาจมีอาการปวดหน่วงท้องน้อยอันเนื่อง มาจากการหดเกร็งของมดลูกได้
3.หลีกเลี่ยงการใช้ผ้าอนามัยแบบสอดเข้าไปในช่องคลอด
ควรนอนพักผ่อนให้มาก
ได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
6.งดมีเพศสัมพันธ์ประมาณ 2 สัปดาห์
วัยเจริญพันธุ์จะกลับมามีประจำเดือนได้
ต้องไปพบแพทย์ตามนัด
ผลข้างเคียง/ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการขูดมดลูก
มดลูกทะลุ โดยเฉพาะในรายที่ขูดมดลูกเนื่องจากการแท้งบุตร
การตกเลือด
การติดเชื้อ
การพยาบาลนรีเวช
โรคไม่ติดเชื้อ
Menstrual cycle disorders
Tumor/ cyst
ระดู
“เลือดที่ไหลออกจากโพรงมดลูกเป็นรอบๆ ทุกเดือน”
ในช่วงก่อนการตกไข่ estrogen จะกระตุ้นให้เยื่อยุ โพรงมดลูกหนาตัวขึ้นเป็น Proliferative endometrium ภายหลังการตกไข่ estrogen และ Progesterone จะกระตุ้น
ชนิดของระดู
ระดูที่มีไข่ตก (Ovular menstruaion)
ระดูที่ไม่มีไข่ตก (Anovular menstruation)
ภาวะผิดปกติที่สัมพันธ์กับการมีระดู
ภาวะขาดระดู (Amenorrhea)
อาการปวดระดู (Dysmenorrhea)
ภาวะเลือดออกหลังหมดประจำเดือน (Post menstrual bleeding)
ภาวะขาดระดู
ระยะก่อนเข้าวัยสาว (pre-puberty)
ขณะตั้งครรภ์ (pregnancy)
ระหว่างการให้นมบุตร (lactational amenorrhea)
วัยหมดระดู (menopause)
Menopause
ความหมาย หญิงที่มีอายุ 40-59 ปี ซึ่งครอบคลุมตามระยะของการหมดประจำเดือน
กลุ่มอาการของวัยหมดประจำเดือน ประกอบด้วย ความรู้สึกร้อนวูบวาบ เหงื่อออกมากในเวลากลางคืน
ภัยเงียบที่พบในวัยหมดประจำเดือน ซึ่งจะเป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นในระยะยาว ได้แก่ โรคกระดูกพรุน
หลักในการดำเนินชีวิตในวัยหมดประจำเดือนเพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรง
การพักผ่อนที่เพียงพอ
อาหาร ควรรับประทานให้หลากหลายเพื่อได้สารอาหารที่ครบถ้วน
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
การตรวจสุขภาพเป็นประจำ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มะเร็งรังไข่
(Ovarian Cancer)
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อนโต กดอวัยวะใกล้เคียง (Pressure Symptom)
ท้องมาน (Ascites)
เลือดออกผิดปกติ: ขาดระดู ระดูมามาก มีเลือดออกกะปริดกะปรอย
Functioning tumor: สาวก่อนวัย ขนดก เสียงแหบห้าว Hyperthyroidism
อาการทางเดินอาหาร
เบื่ออาหารน้ำหนักลด ผอมลง มีไข้
การรักษา
การผำตัด TAH with BSO with Omentectomy
รังสีรักษา: External radiation
Chemotherapy หลังการผำตัด
ครรภ์ไข่ปลาอุก
(Molar Pregnancy)
การตั้งครรภ์ที่ผิดปกติชนิดหนึ่ง มีอาการเริ่มแรกเหมือนการตั้งครรภ์ทั่วไป คือ ประจำเดือนขาดและมีอาการแพ้ท้อง
อาการและอาการแสดง
อาการของการตั้งครรภ์ เช่น ระดูขาด คลื่นไส้ อาเจียนรุนแรง (Hyperemesis Gravidarum)
เลือดออกทางช่องคลอดพบบ่อย
มดลูกบวมโเพิ่มของ Beta-hCG ไม่พบ Fetal Heart Sound (FHS)
มีเม็ด moles ลักษณะคล้ายเม็ดสาคูหลุดออกมาทางช่องคลอด
การรักษา
การยุติการตั้งครรภ์
การขูดมดลูกโดยใช้เครื่องดูดไฟฟ้า
การตัดมดลูกออก ในสตรีที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
การให้ยาเคมีบำบัดป้องกัน
Myoma uteri
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก
อาการและอาการแสดง
ระดูออกมาก (Hypermenorrhea) และมานาน (Menorrhagia)
ก้อนในท้องน้อย (Palpable mass)
อาการกดเบียดอวัยวะข้างเคียง (Pressure symptom)
ปวดท้องน้อย (Pelvic Pain)
ตกขาว (Leukorrhea)
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
การรักษา
เฝ้าสังเกตอาการ ถ้าขนาดก้อนเนื้อ ไม่เกิน 12 wks. ให้มาตรวจซ้ำ ทุก 4-6 เดือน
รักษาด้วยยา
การผ่าตัด
การตัดติ่งเนื้อที่ปากมดลูก
(Cervical Polypectomy)
ข้อห้าม (Contraindication)
ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด หรือรับประทานสมุนไพรที่มีผลต่อการแข็งตัวของเลือด
ในหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นกรณีที่สงสัยว่าเป็น โรคที่ร้ายแรง เช่น มะเร็งปากมดลูก
การหย่อนของอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
หมายถึง ภาวะที่มีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันรวมถึงเอ็นต่างๆที่ช่วยพยุงอวัยวะในอุ้งเชิงกรานสตรี
Tumor/ cyst
Endometriosis
พยาธิสภาพ :
มักพบจุดสีน้ำตาลในอุ้งเชิงกราน โดยเฉพาะ ผิวรังไข่ มดลูก ลำไส้ เยื่อบุช่องท้อง ลักษณะสีแดง
ปัจจัยเสี่ยง
สตรีที่มีระดูครั้งแรกอายุน้อย ช่วงรอบระดูสั้นและเลือดระดูออกมาก
พันธุกรรม
พยาธิสภาพขัดขวางการไหลของระดู เช่น Imperforate hymen
สตรีที่ไม่มีบุตรหรือมีบุตรน้อย
ระดับความรุนแรงของ Endometriosis
Mild ไม่เกิดพังผืดหรือการดึงรังของอวัยวะ
Moderate เกิดพังผืดและดึงรังโดยเฉพาะบริเวณรังไข่
Severe เกิดการดึงรังไปยัง ligament อวัยวะเกี่ยวกับการขับถ่าย
การรักษา
การผ่าตัด
การใช้ยา
เนื้องอกรังไข่ชนิดธรรมดา
การรักษา
แบบไม่ต้องผ่าตัดในรายเนื้องอกรังไข่ชนิดธรรมดาขนาด < 8 cm. ให้สังเกตอาการทุก 2-3 เดือน
แบบต้องผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อน
กดเบียดอวัยวะข้างเคียงในอุ้งเชิงกราน
ท้องโตขึ้น
ปวดท้องเฉียบพลันเกิดจากการบิดของขั้ว (Torsion) การแตก (Rupture ) การติดเชื้อ (Infection)
เชื้อราในช่องคลอด (Candida vaginitis)
อาการและอาการแสดง : ตกขาวมีสีเหลือง หรือขาว เป็นก้อนคล้ายนมข้น (Curd like discharge) อวัยวะเพศภายนอก และช่องคลอดบวมแดง คันในช่องคลอดปัสสาวะแสบตอนสุด เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์
การรักษา : ใช้ยาเหน็บ Clotrimazole 100 mg.หรือยารับประทาน Ketoconazole 200 mg. 1X2 bid