Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fluid and Electrolyte Disturbance, นางสาววรรณวิศา เสือด้วง 634N46131 -…
Fluid and Electrolyte Disturbance
น้ําในร่างกาย (Body fluid)
นำหรือ total body water (TBW)
TBW ลดลงเมื่ออายุมากขึ้รเนื่องจากมีปริมาณไขมันเพิ่มขึ้น
adult TBW = 60% body weight
Infant TBW = 70%
Infant ISF > adult 10%
ไม่ใช่น้ำหรือ solid part
ความผิดปกติจะเกิดขึนเมื่อ
ISF เพิ่ม/ ลดเกิน 20 %(~นา 2 L) จะเกิดภาวะ edema / dehydration
หรือ ICF เพิ่ม/ ลดเกิน7 % (~นา 2 L เช่นกัน) ผู้ป่วยจะซึมและไม่รู้สึกตัวได้
เพราะถ้า ICF มีนาเพิ่มมาก อาจเกิดภาวะ water intoxication /cerebral edema
WATER INTAKE - OUTPUT
ปริมาณน้ำที่ ได้รับ👉🏻ปริมาณน้ำที่ขับออก
ดื่ม 1,000👉🏻 ปัสสาวะ 1500
อาหาร 1,300👉🏻 อุจจาระ 200
Metabolism 200👉🏻 Issensible 300
👉🏻 Sensible 500
รวม 2500👉🏻 รวม 2500
WTOR : Water Turnover rate
ปริมาณน้ำรับเข้าและปริมาณน้ำขับออก (ซึ่งต้องเท่ากันจึงจะสมดล)
Turnover rate ของ เด็กมากกว่าผู้ใหญ่
เด็กเสียนามากกว่าผู้ใหญ
1.1 ทางผิวหนัง : เพราะพืนท่ีผิวกายมากกว่า นาจึงระเหยไปมากกว่า
1.2 ทางปัสสาวะ : เพราะ urine concentratingability ในเด็กเล็กไม่ดีเท่าผู้ใหญ่
เด็กมีทางได้รับนามากกว่าผู้ใหญ
REGULATION OF BODY
FLUID COMPARTMENTS
ขึ้นกับปรากฏการณ์เหล่านี ร่วมกัน
OSMOSIS = SOLVENT MOVEMENT(น้ำจะผ่านผนัง vv. และผนังเซลล์จากที่osm ต่ำไปสูง)
DIFFUSION = SOLUTE MOVEMENT(สารที่ละลาย electrolyte เคลื่อนจาก สูงไป C ต่ำ
Na+-K PUMP : ทำให้ Na+, Cl-มากใน ECF K+มากใน ICF (active transport)
GIBBS-DONNAN EQUILIBRIUM: ทำให้electrolytes กระจายในแต่ละ spaceไม่เท่ากัน
STARLING’S FORCE : balance of fluid movement between plasma &ISF โดยขึ้กับ blood pressure & osmotic pressure
GIBBS -DONNAN equilibrium
ถ้ามี diffusible และ non-diffusible ions (protein) ปะปนกัน จะทำให้ diffusibleions ในแต่ละ compartment กระจายไม่เท่ากัน และเมื่อสมดุลต้องมีผลให้
Total ions
Diffusible ions
สรุป ปริมาณ CATIONS & ANIONS
ในสารน้ำของร่างกาย
ค่ารวมcations=ค่ารวมanionsในแต่ละช่อง(แต่ปริมานใน ICF> ECF)
ECF:Na+,Cl-,HCO-3>ในICF
ICF :K+, Mg++,PO4,organic acids, protein > ใน ECF
Effective osmolality
หรือ tonicity
Osmolality คือ
ความเข้มข้นของสารทั้งหมดที่ละลายในน้ำ 1 liter
คำนวณค่า serum osmolality
(ค่าปกติ = urineosmol = 80-1,200 mosmol/Kg) เมื่อ ECF มี osmolality ลดลง เช่น hyponatremia น้ำจะเคลื่อนเข้าไปใน
ICF ทำให้ปริมาตรของ ICF เพิ่มขึ้น เพื่อทำให้เกิด osmotic equilibriumตรงกันข้าม ถ้า ECF มี osmolality เพิ่มขึ้น เช่น hypernatremia น้ำจะเคลื่อนออกจาก ICF ทำให้ปริมาตรของ ICF ลดลง
Regulation of fluid balance
Osmolality
Volume
ขึนกับ ratio ofH2O & electrolytes ( Na+, K+) ดูท่ีค่า ECF ซึ่งขึ้นกับtotal amount of Na+และ น้ำที่รวมอยู่ด้วย
pH ขึนกับplasma [H+]
การรักษาสมดุลน้ำในร่างกาย
Thirst center เป็นhypothalamic osmoreceptors ที่เชื่อมต่อกับ cerebral cortex การเปลี่ยนแปลงของ osmolality เพียงร้อยละ 1-2 ก็สามารถกระตุ้น thirst
Osmoreceptors ใน hypothalamus เมื่อ osmolality เพิ่มขึ้นจะกระตุ้นการหลั่ง
antidiuretic hormone (ADH) โดยเซลล์ประสาทใน supraoptic และ paraventricular nuclei ในhypothalamus ซึ่ง ADH จะจับกับ V2receptors ใน collecting duct ทำให้น้ำถูกดูดซึมกลับมากขึ้น ปริมาณปัสสาวะลดลงและปัสสาวะเข้มข้นขึ้น การเปลี่ยนแปลงของ osmolality เพียงร้อยละ 1 สามารถกระตุ้นการหลั่ง ADH ได้
1.ADH (antidiuretic hormone)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหลั่ง ADH เพิ่ม
Osmolality ของ ECF ที่เพิ่มขึ้น
Fluid volume ใน ECF ลดลง
อุณหภูมิสูง
การบาดเจ็บท่ีสมอง hypothalamus
Drugs เช่น morphine,
acetaminophen, เป็นต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการหลั่ง ADH ลดลง
Osmolality ของ ECF ท่ีลดลง
Fluid volume ใน ECF เพิ่ม
Diabetic insipidus ;DI
Drugs เช่น noradrenaline, phenytoin เป็นต้น
นางสาววรรณวิศา เสือด้วง 634N46131