Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ครั้งที่ 4, นคร ศรีเกษม 61030031 - Coggle Diagram
ครั้งที่ 4
การจักการเรียนรู้แบบค้นพบ
ขั้นตอน
ขั้นนำ
ขั้นสอน
ขั้นฝึกทักษะ
ขั้นสรุป
ประโยชน์
ช่วยให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผล
ช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง
ผู้เรียนมีความมั่นใจเพราะได้เรียนรู้สิ่งใหม่อย่างเข้าใจจริง
ช่วยให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้านความคิด
ปลูกฝังนิสัยรักการอ่านค้นคว้าเพื่อหาคําตอบด้วยตนเอง
ก่อให้เกิดแรงจูงใจความพึงพอใจในตนเองต่อการเรียนสูง
ผู้เรียนรู้วิธีสร้างความรู้ด้วยตนเอง
เหมาะสมกับผู้เรียนที่ฉลาดมีความเชื่อมั่นในตนเอง
สาระสำคัญ
เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนค้นหาคํา
ตอบ หรือความรู้ด้วยตนเอง โดยผู้สอนจะเป็นผู้สร้างสถาน การณ์ในลักษณะที่ผู้เรียนจะเผชิญกับปัญหา ซึ่งในการแก้ ปัญหานั้นผู้เรียนจะใช้กระบวนการที่ตรงกับธรรมชาติของ วิชาหรือปัญหานั้น
ข้อดี
ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วยตนเองทําให้สามารถจดจําความ รู้นั้นได้นาน
ผู้เรียนมีโอกาสพัฒนาทักษิที่จําเป็นสําหรับการเรียนรู้
ผู้เรียนมีโอกาสพัฒนาทักษะทางสมองระดับสูง
ผู้เรียนมีโอกาสฝึกทักษะใช้การคิดอย่างมีเหตุผล
ผู้เรียนจะเรียนรู้โดยเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง
ข้อเสีย
เป็นวิธีการเรียนที่ผู้เรียนแต่ละคนใช้เวลาในการเรียน ค่อนข้างมาก และผู้เรียนแต่ละคนจะใช้เวลาไม่เท่ากัน
เอกสารตําราจะเป็นการบอกความรู้ให้กับผู้เรียนมาก กว่าการให้ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วยตนเอง
ผู้เรียนมักจะค้นพบสิ่งต่างๆ ที่นอกเหนือจากสิ่งที่ต้อง
การให้ค้นพบ ทําให้ขอบเขตของการศึกษากว้างมากเกินไป
ผู้เรียนบางคนไม่สามารถค้นพบความรู้ตามที่มุ่งหวังไว้
การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
สาระสำคัญ
เป็นวิธีการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นแรงขับเคลื่อน ให้ผู้เรียยนเกิดกระบวนการเรียนรู้ ปัญหาต่างๆ จะเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหาความ รู้เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา โดยผู้สอนจําทําหน้า ที่เป็นเพียงที่ปรึกษา
แนวทางการจัดการเรียนรู้
พิจารณาหลักสูตรของสถานศึกษา
กําหนดแหล่งข้อมูล
กําหนดและเขียนขอบข่ายปัญหา
กําหนดกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้
สร้างคําถามและกําหนดวิธีการประเมินผล
ขั้นตอน
กํานหอปัญหา
ทําความเข้าใจปัญหา
ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
สังเคราะห์ความรู้
สรุปและประเมินค่าของคําตอบ
นําเสนอและประเมินผลงาน
ข้อดี
ผู้เรียนจะมีทักษะในการตั้งสมมติฐาน
สามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ทํางานเป็นกลุ่มกับผู้อื่นได้ดีและมีประสิทธิภาพ
ความคงอยู่ของความรู้นานกว่าบรรยาย
จูงใจให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้มากขึ้น
ข้อเสีย
ความรู้ที่ได้รับจะไม่เป็นระบบ
ความถูกต้องของเนื้อหาที่ไปค้นคว้าศึกษา
ครูต้องมีทักษะที่หลากหลาย
ความแตกต่างของครู
มีข้อจํากัดเกี่ยวกับเวลาที่ใช้ จํานวนคร
การจักการเรียนรู้โดยใช้เกม
สาระสำคัญ
เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องต่างๆ อย่างสนุกสนานและท้าทายความสามารถ โดยผู้เรียน เป็นผู้เล่นเอง ทําให้ได้รับประสบการณ์ตรง
ประโยชน์
ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้สูง
ช่วยให้ผู้เรียนเดีเการเรียนรู้โดยการเห็นประจักษ์แจ้งด้วยตนเอง
เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนไม่เหนื่อยแรงมากขณะสอนและผู้เรียนชอบ
ลักษณะของเกมประกอบการสอน
ให้ได้ความรู้ ความคิดตามจุดมุ่งหมาย
เพิ่มความเข้าใจและแรงจูงใจในเนื้อหา
ช่วยการเรียนกันเองในกลุ่มเล็กๆโดยไม่ต้องมีครูสอนอยู่ด้วย
ทักษะพื้นฐานที่มีลําดับขั้นตอน
ขั้นตอน
ผู้สอนนําเสนอเกมและชี้แจงวิธีการเล่นและกติกาการเล่น
ผู้เรียนเล่นตามกติกา
ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายเกี่ยวกับผลการเล่นและ วิธีการหรือพฤติกรรมการเล่นของผู้เรียน
ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
การออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
โครงสร้างหลักสูตร
ระดับชั้น กําหนดหลักสูตรเป็น 4 ช่วงชั้น
สาระการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้
เวลาเรียน
สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักการจัดารเรียนรู้
ศึกษาข้อมูลพื้นฐานก่อนการจัดการเรียนรู้
1.1 ศึกษาหลักสูตรที่เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้
1.2 ศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้
1.3 ศึกษาสิ่งช่วยอํานวยความสะดวกในการจัดการ เรียนรู้
1.4 ศึกษาวิธีที่จะวัดและประเมินผลในการจัดการ เรียนรู้
1.5 ศึกษาสภาพการเรียนรู้และสภาพปัญหาผู้เรียน
จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
2.1 จุดประสงค์การเรียนรู้
2.2. ประสบการณ์เรียนรู้
2.3 การประเมินผลการียนรู้
วางแผนและเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
นําแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้
วิเคราะห์และประมิโนผลการเรียนรู้
ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
6.1 การปรับปรุงสอนขณะสอน
6.1 การปรับปรุงภายหลังการจัดการเรียนรู้นั้นสิ้นสุด
การจัดทําสารสนเทศและความรู้ที่ได้จากการจัด การเรียนรู้
บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
บทบาทของผู้สอ
1.1 ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลแล้วนําข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู้
1.2 กําหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนด้านความรู้และทักษะ
1.3 ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง "บุคคลและพัฒนาทางสมองเพื่อนําผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย
1.4 จัดบรรยายที่เอื้อต่อการเรียนรู้และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดเรียนรู้
1.5 จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม
1.6 ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลาย
1.7 วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน
บทบาทของผู้เรียน
2.1 กําหนดเป้าหมายการเรียนของตนเอง
2.2 แสวงหาความรู้หรือหาแนวทางการแก้ ปัญหาด้วยวิธีการต่างๆ
2.3 ลงปฏิบัติจริงและนําความรู้ ไปประยุกต์ ใช้จริง
2.4 มีปฏิสัมพันธ์ทํางานร่วมกับผู้สอน
2.5 ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้
นคร ศรีเกษม 61030031