Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายคุ้มครองและอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมไทย - Coggle Diagram
นโยบายคุ้มครองและอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมไทย
สมัยรัชกาลที่ ๑
กฎหมายตราสามดวง
มีข้อกำหนดเพื่ออนุรักษ์ ป้องกันการทำลายองค์กรศาสนา
สงวนรักษาวัตถุโบราณสถาน
บทลงโทษรุนแรง
แนวทางการอนุรักษ์ยึดถือแบบอยุธยา
สมัยรัชกาลที่ ๔
โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเขตรังวัด ผู้ร้ายขุดวัด
ระยะนั้นมีผู้นิยมลักลอบขุดแสวงหาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามกรุพระอารามและโบราณสถานต่างๆ
มีข้อกำหนดให้ชาวบ้านที่อยู่อาศัยช่วยกันดูแล ป้องกัน หากวัดใดถูกทำลายแต่ชุมชนนั้นไม่แจ้งต่อทางการจะมีความผิด
สมัยรัชกาลที่ ๕
มีการจัดตั้งหอสมุดวชิรญาณเพื่อเก็บรักหนังสือ เอกสารสำคัญ
จัดตั้งหอคองเคีย จัดแสดงสมบัติของชาติ ภายหลังคือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
กระตุ้นให้คนไทยสนใจการสงวนรักษาไว้ซึ่งสมบัติชาติ
จัดตั้งโบราณคดีสโมสร
สมัยรัชกาลที่ ๗
ประกาศใช้พระราชบัญญัติพิพิธภัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๖๙ เป็นการรวบรวมโบราณวัตถุมาเก็บรักษาไว้
ออกพระราชบัญญัติว่าด้วยการส่งโบราณวัตถุและศิลปวัตถุออกนอกประเทศต้องได้รับอนุญาตจากราชบัณฑิตยสภา
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราานุภาพชี้แจงให้ข้าหลวงเทศามณฑลเข้าใจถึงแนวทางการอนุรักษ์ของโบราณ
สมัยรัชกาลที่ ๖
กรรมการหอพระสมุดสำหรับพระนครและราชบัณฑิตยาภามีหน้าที่รับผิดชอบโบราณสถาน โบราณวัตถุ
กิจการโบราณคดีสโมสรได้รับความสนใจทั้งจากไทยและต่างประเทศ
สมัยรัชกาลที่ ๘
ใน พ.ศ. ออกประกาศหน้าที่รับผิดชอบให้กรมศิลปากร กระทรวงธรรมการ
รัฐบาลประกาศใช้พระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๓ โดยมีการบัญญัติความหมายของคำว่า วัฒนธรรม
ต่อมายกเลิกพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติทั้ง ๒ ฉบับ และประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๘๕
ต่อมามีการจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ มีฐานะเป็นกรมในกระทรวงวัฒนธรรม
พ.ศ. ๒๔๘๖ ต่อมา มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ โดยยกสภาวัฒนธรรมเป็นทบวง
ในรัชกาลปัจจุบัน
มีการจัดตั้งหน่วยงาน และประกาศใช้พระราชบัญญัติเพื่อการอนุรักษ์ คุ้มครอง
พ.ศ.๒๔๘๒-๒๕๐๐ จัดตั้งกระทวงวัฒนธรรมดูแลกรมการศาสนา กรมการวัฒนธรรม และ กรมศิลปากร เร่งเผยแพร่ความรู้ทางวัฒนธรรม
พ.ศ. ๒๕๐๑ กระทรวงวัฒนธรรมถูกลดฐานะเป็นเพียงกองวัฒนธรรม ทำให้บทบาทการรับผิดชอบอยู่ในกระทรวงศึกษาธิการ
ใน พ.ศ.๒๕๑๒ ประกาศใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย เพิ่มโทษ
ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ มีการตราพระราชบัญญัติคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เป็นผลให้มีการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.)
ใน พ.ศ. ๒๕๒๔ ประกาศนโยบายวัฒนธรรมแห่งชาติ
ในสมัยนี้มีการดำเนินนโยบายอีกหลายประการ เช่น การคัดเลือกศิลปินแห่งชาติ การประกาศวันอนุรักษ์มรดกไทย การจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นต้น