Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคมบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและมีปัญหาฆ่…
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคมบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและมีปัญหาฆ่าตัวตาย
ภาวะซึมเศร้า
สาเหตุ
แนวคิดด้านกลไกทางจิตใจ
ความเจ็บปวดที่เกิดจากความสูญเสีย (loss)ในสิ่งที่มีความหมายต่อตนเอง
แนวคิดด้านการเปลี่ยนแปลงของสารชีวเคมีในร่างกาย
เกิดจาการลดน้อยลงของสารจำพวกไบโอจินิก อะมีนส์ (biogenic amines)ในทางระบบ ประสาทส่วนกลาง
การพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากเคยมีประวัติการทำร้ายร่างกายตนเองก่อนหน้า
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
ทักษะการเผชิญปัญหา เนื่องจากคิดว่าตนเองไร้ค่าและไร้ความหมาย
กิจกรรมการพยาบาล
การลดภาวะซึมเศร้า
การป้องกันการทำร้ายตนเองและผู้อื่น
การส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้แก่ผู้ป่วย
การส่งเสริมการดูแลตนเองด้านสุขอนามัยและกิจวัตรประจำวัน
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม
การดูแลเรื่องการให้ได้รับสารน้ำสารอาหารเพียงพอต่อร่างกาย
การส่งเสริมการทำกิจกรรมและการพักผ่อนตามความต้องการของร่างกายให้เกิดความสมดุล
การสอน และฝึกทักษะการเผชิญปัญหา เพื่อปรับปรุงบุคลิกภาพให้ผู้ป่วยเข้มแข็งมากขึ้น
สอนและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการแสวงหาแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วย ที่มีความสอดคล้องกับผู้ป่วย
การประเมินภาวะซึมเศร้า
ประเมินความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
ประเมินการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย และกิจวัตรประจำวัน
ประเมินระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า
ประเมินความสมดุลระหว่างการทำกิจกรรม
ประเมินบุคลิกภาพ
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยและผู้อื่นปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
ไม่มีพฤติกรรมทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและสามารถรักษาสุขอนามัยของตนเองได้
ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้าลดลง โดยสังเกตจากสีหน้าผู้ป่วยว่า สีหน้าแจ่มใสมากขึ้น
สร้างเป้าหมายในชีวิต และสามารถปฏิบัติให้บรรลุผลตามเป้าหมายนั้นได้
ลักษณะอาการและอาการแสดง
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง (moderate depression/neurotic depression)
ภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง (severe depression/Psychotic depression)
ภาวะซึมเศร้าระดับอ่อน (mild depression/blue mood)
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
รู้สึกว่า ตนเองไร้คุณค่า หงุดหงิดง่าย มีความคิดเชื่องช้าลง
มีพฤติกรรมที่สื่อในการทำลายข้าวของ และทำร้ายตนเอง
มีอาการเศร้า รู้สึกอยากจะร้องไห้ หรือร้องไห้ง่าย
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
นอนไม่หลับเป็นเวลา 1-2 สัปดาห์
มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
ระดับฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง เช่น ประจำเดือนมาน้อยกว่าปกติ
เบื่ออาหาร การรับรสชาติเปลี่ยนแปลงน้ำหนักตัวลดลง ดูซูบซีด ท้องผูก
ความหมาย
ภาวะซึมเศร้า หมายถึง การที่บุคคลมีพฤติกรรมที่เกิดจากภาวะจิตใจที่หม่นหมอง หดหู่ เศร้า สร้อย ท้อแท้ สิ้นหวัง และมองโลกในแง่ร้ายซึ่งมีสาเหตุมาจากการสูญเสียเป็นสำคัญ
การฆ่าตัวตาย
ลักษณะอาการและอาการแสดง
การฆ่าตัวตายแบบคุกคาม(threatened suicide)
บุคคลกลุ่มนี้มีความคิดซ้ำๆ ที่จะทำร้ายตนเอง แต่ยังกล้าๆกลัวๆ
การฆ่าตัวตายสำเร็จ(completed suicide / committed suicide)
บุคคลกลุ่มนี้จะมีอารมณ์ซึมเศร้าชัดเจนมีความมุ่งมั่น ที่จะฆ่าตัวตายให้สำเร็จ
การพยายามฆ่าตัวตาย(attempted suicide)
บุคคลจะพยายามทำร้ายตนเองด้วยวิธีการต่างๆ
สาเหตุ
ด้านจิตใจ
ด้านจิตวิเคราะห์
เป็นการทำงานของจิตใต้สำนึกในการตอบสนองต่อแรงขับของความก้าวร้าวที่หันเข้าสู่ ตนเอง
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด
เป็นผลมาจากการเรียนรู้ต่อสิ่ง เร้าที่เป็นอันตราย
ด้านสังคม
สัมพันธภาพระหว่างมารดาและบุตร หรือผู้เลี้ยงดูกับทารก
ด้านชีวภาพ
เกิดอารมณ์ซึมเศร้าในน้ำไขสันหลังมีระดับต่ำลง ได้แก่ 5-Hydroxyindoleacetic acid (5-HIAA)
การเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย (medical factors)
ด้านจิตวิญญาณ
บุคคลที่ขาดที่พึ่ง หรือสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจที่ช่วยเชื่อมโยงความคิด ความรู้สึกทุกข์ทรมานทางใจกับพลังชีวิตจากภายใน จะทำให้บุคคลรู้สึกโดดเดี่ยวและสิ้นหวัง
ความหมาย
การที่บุคคลมีความคิดอยากทำ ร้ายตนเองและพยายามทำให้ชีวิตของตนเองสิ้นสุดลงด้วยวิธีการต่างๆที่ไม่ใช่อุบัติเหตุ
การพยาบาล
การประเมินพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
ข้อมลูส่วนบุคคลต่างๆ ที่เป็นปัจจัยเสี่ยง
อาการและอาการแสดง เช่น มีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
มีความตั้งใจ/มีการวางแผนการฆ่าตัวตายอย่างชัดเจน
ความพร้อมในด้านแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อฝึกทักษะในการเผชิญปัญหาอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์
เพื่อฝึกทักษะในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้ารุนแรงและเคยมีประวัติการทำร้ายตนเอง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเนื่องจากรู้ว่าตนเองไม่มีคุณค่าและใช้กลไกทางจิตในการแก้ไขปัญหาไม่เหมาะสม
เป้าหมายระยะสั้น
เพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายหรือการฆ่าตัวตายซ้ำ
เพื่อส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
กระตุ้นการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย
กิจกรรมการพยาบาล
ส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
การส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
การเฝ้าระวังหรือป้องกันการฆ่าตัวตาย
ฝึกทักษะการเผชิญปัญหาในชีวิตอย่างสร้างสรรค์
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมการพยายามฆ่าตัวตาย
ผู้ป่วยรสึกมีคุณค่าในตนเองเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยสามารถตั้งเป้าหมายในชีวิต และมีความหวังในชีวิตมากยิ่งขึ้นและมีพลังในการปฏิบัติตนให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
ผู้ป่วยสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้มากยิ่งขึ้น และสามารถแสวงหาแหล่งสนับสนุน ช่วยเหลือที่เหมาะสมกับศักยภาพของตนได้
ผู้ป่วยมีวิธีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสมเพิ่มมากขึ้น
:star:
นางสาวธาริณี ไหวพริบ รหัส 180101120