Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาพัฒนาการมนุษย์ - Coggle Diagram
จิตวิทยาพัฒนาการมนุษย์
ความหมายของจิทยาการมนุษย์
พัฒนาการ (Developmental) หมายถึง การเจริญเติบโต (Growth) คือการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย การมีวุฒิภาวะ (Maturation)
จิตวิทยา มาจากคำว่าpsychology ซึ่งมารากศพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Psyche หมายถึงจิตวิญญาณ (mind soul) กับคำว่า Logos หมายถึงศาสตร์วิชา วิทยาการ(science,study)
จิตวิทยา คือ ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการของจิต กระบวนการคิด และพฤติกรรมของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การรับรู้ อารมณ์ บุคลิกภาพ พฤติกรรม และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
จิตวิทยาพัฒนาการ (development psychology) เป็นจิตวิทยาแขนงหนึ่งที่มุ่งศึกษามนุษย์ทุก วัยตั้งแต่ปฏิสนธิจนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิต ในทุก ๆ ด้านเพื่อให้ทราบถึงลักษณะพื้นฐาน ความเป็นมา จุดเปลี่ยน จุดวิกฤตในแต่ละวัย
จุดมุ่งหมายของจิตวิทยาพัฒนาการมนุษย์
เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการที่จะเข้าใจลักษณะของพัฒนาการในระยะเวลาต่างๆว่าเป็นอย่างไร และจะมีส่วนช่วยในการแก้ไขและเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้น ตามความเหมาะสมของแต่ละอายุ
เพื่อให้สามารปรับตัวให้เข้ากับความยากลำบากของการพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุว่ามีความแตกต่างกันได้เป็นอย่างดี
จุดมุ่งหมายของการศึกษาพัฒนาการของมนุยษ์
เพื่อการควบคุม (Control) เป็นการที่ผู้รู้จะสามารถนำเอาความรู้นั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
เพื่อการทำนาย (Prediction)เป็นการพยากรณ์ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งกว่าการอธิบาย
เพื่อการอธิบาย (Explanation)เพื่อเป็นการเสาะแสวงหาความรู้และเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อันสามารถอธิบายปรากฏการณ์ในสิ่งที่เราไม่รู้
เพื่อการบรรยาย (Description) ในการบรรยายนี้จะเป็นการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อให้สามารถที่จะบอกเล่ากันต่อๆไปได้
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการมนุษย์
ปัจจัยด้านชีวภาพ ทำให้ทารกในครรภ์มารดาหรือในวัยก่อนคลอดมีความผิดปกติได้
ปัจจัยด้านจิตใจ (Psychological Forces) ปัจจัยด้านจิตใจของบุคคลที่มีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในช่วงอายุนั้นๆ
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับสุขภาพ (Health - Related factors) โดยเฉพาะสภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพที่มีผลต่อพัฒนาการของทารกในครรภ์มารดา
5.ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Forces)
ปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological Forces) ปัจจัยทางชีวภาพที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่ในระยะก่อนคลอดคือ พันธุกรรมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับสุขภาพ
ุ6.ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวงจรชีวิต (Life-cycle forces)
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการมนุษย์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory)ของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคม( Psychosocial development) ของ Erik H. Erikson
ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด
(Cognitive Theories) ของเพียเจท์
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก
วิธีการศึกษาพัฒนาการของมนุษย์
1.วิธีการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross Sectional Method)
2.วิธีการศึกษาแบบระยะยาว (Longltudinal Method)
เทคนิคต่างๆที่ใช้ในการศึกษาพัฒนาการมนุษย์
2.การใช้แบบสอบถาม
3.การสัมภาษณ์
4.การศึกษาอัตตะชีวประวัติ
5.การทดลอง
1.การสังเกต
6.การศึกษารายกรณี
7.การทดสอบมาตรฐาน