Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวช
stress diathesis model
เมื่อจุดอ่อนทางพันธุกรรมถูกกระตุ้นด้วยด้วยปัจจัยบางประการหรือสถานการณ์ความเครียดก็จะก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ผิดปกติ
การมียีนส์หรือการรวมกันทางพันธุกรรมที่เฉพาะเจาะจงบางอย่างส่งผลให้เกิดจุดอ่อน
บุคคลที่จะเจ็บป่วยทางจิตได้จะต้องมีจุดอ่อนทางพันธุกรรมรวมกับการมีสถานการณ์ความตึงเครียดทางสิ่งแวดล้อม
case formulation
ขยายมุมมองจาก stress diathesis model
โดยพิจารณาปัจจัย 4 ประการ (4 P’s)
ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ (precipitating factors) หมายถึง สถานการณ์สิ่งแวดล้อมภายนอก
ที่ทำให้บุคคลเริ่มปรากฏความผิดปกติของโรคทาจิตเวช
ปัจจัยที่ทำให้อาการคงอยู่ (perpetuating factors) หมายถึง สถานการณ์สิ่งแวดล้อม ความเชื่อ ทัศนคติหรือพฤติกรรมของบุคคล ที่ทำให้อาการความผิดปกติของโรคทาจิตเวชที่เกิดขึ้นยังไม่หายไป
ปัจจัยเสี่ยง (predisposing factors) หมายถึง สถานการณ์สิ่งแวดล้อม หรือสิ่งที่แฝงอยู่ในตัวบุคคล
ปัจจัยปกป้อง (protective factors) หมายถึง สถานการณ์สิ่งแวดล้อม ความเชื่อทัศนคติหรือพฤติกรรมของบุคคล ที่ช่วยให้บุคคลปรับตัวต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่ผลต่ออาการความผิดปกติของโรคทางจิตเวชที่มีไม่ให้รุนแรงหรือช่วยให้ความผิดปกตินั้นหายคืนสู่สภาพปกติ
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
ปัจจัยทางด้านจิตใจ (psychological factors)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์มองว่า ปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์
มีสาเหตุมาจากการทำงานของโครงสร้างบุคลิกภาพที่ไม่สมดุลกัน (Id, Ego และ Superego)
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (humanistic theories) มองว่าปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจปัญหาที่แท้จริงของตนเอง
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม มองว่าปัญหสุขภาพจิต บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจาก ประสบการณ์ของมนุษย์ที่ผ่านการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสภาวะสิ่งแวดล้อมต่าง ๆในช่วงชีวิตที่ผ่านมา
ปัจจัยทางด้านสังคม (social factors)
เศรษฐกิจและสังคม
วัฒนธรรม
ลักษณะการอบรมเลี้ยงด
การเมือง
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ปัจจัยทางกายหรือชีวภาพ (Biological factors)
การทำหน้าที่ผิดปกติของสารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
ความผิดปกติของโครงสร้างและการทำงานของสมอง
พันธุกรรม (genetics)
ความผิดปกติที่มีมาแต่กำเนิด (congenital abnormal)
ความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย (hormonal factor)
การสะสมของสารพิษภายในร่างกาย (toxic substance alcoholism)
ความเจ็บป่วยหรือโรคทางสมอง
ปัจจัยทางจิตวิญญาณ (spiritual factors)
ปรัชญาชีวิต (Philosophy of Life)
สิ่่งที่นับถือหรือที่พึ่งทางใจ (concept of deity)
อาการวิทยา
เกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช
International Classification of Disease and Related Health Problem 10th Revision (ICD 10)
Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V)
กลุ่มของอาการและอาการแสดงทางจิตเวช
ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbanceof emotion) สภาวะอารมณ์ (emotion)
ความผิดปกติของความคิด (disturbance of thinking)
ความผิดปกติของการพูด (disturbanceof speech)
ความผิดปกติของการรับรู้สัมผัส (disturbance of perception)
ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว (disturbanceof motor behavior)
ความผิดปกติของความจำ (disturbanceof memory)
ความผิดปกติของความรู้สึกตัว ( disturbance of consciousness)
นิยามเกี่ยวกับอาการวิทยา
อาการ (symptoms)คือ ประสบการณ์ที่ผู้ป่วยได้รับ ซึ่งจะถูกบอกเล่าโดยผู้ป่วยเอง
กลุ่มอาการ (syndrome) คือ อาการและอาการแสดงหลาย ๆ อย่างที่พบร่วมกัน
อาการแสดง (signs) คือ สิ่งที่ผู้ตรวจได้จากการสังเกตและทำการตรวจ
โรคทางจิตเวช (psychiatric disorder หรือ mental disorder)
สิทธิของผู้ป่วย กฎหมาย จริยธรรมในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ขั้นตอนและแนวทางการดำเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
แจ้ง: แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็นตัน พนักงานฝ่ายปกครอง
ตรวจ: สถานพยาบาลของรัฐหรือหรือสถานบำบัดรักษาต้องประเมินอาการและวินิจฉัยเบื้องต้นภายใน 48 ชั่วโมง
เจอ: เมื่อพบบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22 (ผู้ที่มีภาวะอันตราย และ/หรือมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา)
ส่ง: ส่งรักษาในสถานบำบัด (โรงพยาบาลจิตเวช)
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
เพื่อปกป้องคุ้มครอง ส่งเสริมและปรับปรุงคุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตของประชาชน
เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยธรรมชนของผู้ที่มีความผิดปาติทางจิต
เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ป่วยจิตเวช