Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจภาวะหัวใจล้มเหลว - Coggle Diagram
ภาวะหัวใจภาวะหัวใจล้มเหลว
ความหมาย
เป็นกลุ่มอาการทางคลินิกที่มีความซับซ้อนจากการมีความผิดปกติของโครงสร้างและการทำงานของหัวใจ The European Society of Cardiology (ESC) guideline ให้คำจำกัดความ เป็นกลุ่มอาการทางคลินิกที่มีอาการแสดงอย่างชัดเจน ได้แก่ หายใจตื้น ๆ ข้อเท้าบวมและอ่อนล้า ที่อาจมีแรงดันหลอดเลือดดำที่คอสูงมี น้ำท่วมปอดและอวัยวะส่วนปลายบวม ร่วมด้วย สาเหตุมาจากความผิดปกติของโครงสร้างหัวใจและการทำหน้าที่ของหัวใจผิดปกติส่งผลให้มีปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลงและมีความดันในหัวใจเพิ่มขึ้นทั้งขนาดพักหรือออกกำลัง สมาคมแพทย์สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภร่วมกับชมรมหัวใจล้มเหลวแห่งประเทศไทยให้จำกัดความของภาวะหัวใจล้มเหลวไว้ในแนวทางเดียวกับที่กล่าวมาว่าเป็นกลุ่มอาการที่มีความซับซ้อนทางคลินิกที่เป็นผลจากการมีโครงสร้างและการทำงานเสื่อมลงของหัวใจห้องล่างและการรับเลือดเข้าสู่หัวใจหรือไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้ตามปกติทำให้ร่างกายและเซลล์เนื้อเยื่อร่างกายได้รับออกซิเจนและสารอาหารไม่เพียงพอออ
อาการและอาการแสดง
1.อาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจซิกซ้ายวาย
อาการอาการทางปอดเป็นอาการสำคัญของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว เกิดเมื่อความสามารถในการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง ส่งผลให้เลือดย้อนกลับไปในหัวใจห้องบนซ้ายและปอด ผู้ป่วยจะมีอาการเหนื่อยเหนื่อยเมื่อออกแรง นอนหลับไม่ได้ จากการที่ขณะนอนราบเลือดไหลกลับหัวใจมากขึ้นทำให้ปอดมีแรงดันสูงมีเลือดข้างและบวมน้ำมีการหายใจเหนื่อยขนาดนอนหลับซึ่งต้องตื่นมาลุกนั่งหายใจและหายใจเร็ว
หัวใจเต้นเร็วความดันโลหิตต่ำจากการมี co ลดลง
หัวใจเต้นเร็วโดยอาจเต้นแรงสลับเบาเป็นผลมาจากการทำงานชดเชยของระบบประสาทซิมพาเทติก
ผิวหนังของอวัยวะส่วนปลายเย็น ชื้น จากหลอดเลือดส่วนปลายหดตัวเพื่อเพิ่มปริมาณเลือดกับส่วนกลาง
กระสับกระส่าย สับสน ความจำเสื่อม เป็นลม หรือหมดสติอย่างรวดเร็วจากปริมาณเลือดเลี้ยงสมองลดลง
อ่อนล้าและมีความทนต่อการทำงานลดลงจากเนื้อเยื่อร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอส่งผลให้มีการสร้าง Adennosine triphosphate (ATP) ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานของการทำให้กล้ามเนื้อร่างกายหดตัว
ปัสสาวะออกน้อย จากเลือดไปเลี้ยงไตลดลง
อาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจซีกขวาวาย
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง จากการมีแรงดันกลับไปยัง superior vena cava เพิ่มขึ้น
บวมกดบุ๋ม บริเวณข้อเท้าและขา ตับโต จากเลือดคั่งในตับมีน้ำในช่องท้องและอาจพบอาการคลื่นไส้ เบื่ออาหารร่วมด้วย
เคสกรณีศึกษา
ขาบวมทั้ง 2 ข้าง , อวัยวะเพศบวม , หายใจไม่อิ่ม นอนราบไม่ได้ , เจ็บหน้าอกซ้ายเหมือนโดนบีบขนาดนอนเล่น ไม่ปวดร้าวไปที่ใด , มีอาการเหนื่อยขนาดนอนหลับซึ่งต้องตื่นมาลุกนั่งหายใจ หัวใจเต้นเร็วเต้นแรงสลับเบา
พยาธิสรีรภาพ
ปริมาณเลือดในห้องหัวใจห้องล่างก่อนบีบตัวที่เกิดจากการที่หัวใจห้องล่างขายตัวเต็มที่เพื่อรับเลือด
แรงที่หัวใจห้องล่างซ้ายต้องเอาชนะแรงต้านหรือแรงดันในหลอดเลือดแดงเพื่อผลัดเลือดออกจากหัวใจ
3.การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ หมายถึง ความสามารถในการหดตัวของหัวใจหรือกล้ามเนื้อหัวใจ
4.อัตราการเต้นของหัวใจมีความสัมพันธ์กับปริมาณเลือดที่หัวใจบีบตัวในแต่ละครั้งเพื่อให้มี co เพียงพอในภาวะที่ SV ลดลงอัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึ้นเพื่อให้มี co เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยทำไมอิสระ 9 ปัจจัย
ได้แก่ อายุ ประวัติการเจ็บป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ การสูบบุหรี่ ระดับความดันโลหิตตัวบน อัตราการเต้นของชีพจร ระดับน้ำตาลครีเอตินิน อัลบูมินในเลือดและการหนาตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
1.โรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงเป็นปัจจัยสำคัญที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีสาเหตุจากประวัติพันธุกรรมโรคเบาหวานไทรอยด์ ภาวะหัวใจเต้นเร็ว ผลข้างเคียงจากการได้รับเคมีบำบัดและการได้รับสารพิษ
สาเหตุอื่นๆได้แก่โรคลิ้นหัวใจรั่วหัวใจที่เป็นมาแต่กำเนิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะการสูบบุหรี่และการใช้ยารักษาเบาหวานบางชนิด
เคสกรณีศึกษา
ผลข้างเคียงจากการได้รับเคมีบำบัด จากการรักษามะเร็งเต้านมด้านซ้าย
การประเมินภาวะสุขภาพ
1.การซักประวัติ
เคสกรณีศึกษา
ผู้ป่วยบอกว่าผู้ป่วยมีอาการขาบวมทั้ง 2 ข้าง อวัยวะเพศบวม หายใจไม่อิ่มขนาดนอนหลับต้องตื่นขึ้นมานั่งหายใจ
2.การตรวจร่างกายระบบ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
เคสกรณีศึกษา
1.ระบบหัวใจและหลอดเลือด : หัวใจเต้นผิดจังหวะไม่สม่ำเสมอ เต้นเร็วแรงสลับเบา Jugular vein detention ไม่มีการโป่งพองไม่ ไม่มีการบวมตามร่างกาย
ระบบหายใจ
ผู้ป่วยไม่มีอาการหายใจเหนื่อยหายใจลำบากสามารถนอนหลับได้ไม่มีอาการไอ
ระบบประสาท
ผู้ป่ผู้ป่วยไม่มีอาการมึนงงสับสนถามตอบรู้เรื่องแต่ผู้ป่วยมีอาการหูตึง
ระบบต่อมไร้ท่อและไต
ผู้ป่วยไม่ค่อย ปัสสาวะต่อวัน 1-2 ครั้งรับประทานน้ำน้อย ผู้ป่วยได้จำกัดน้ำ 1500 ลิตรต่อวัน แต่ผู้ป่วยรับประทานน้ำประมาณ 600 ml.
ระบบทางเดินอาหาร
ไม่พบตับโต ไม่พบท้องอืด ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีความอยากอาหารลดลงรับประทานอาหารได้ตามปกติ
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติ
การตรวจภาพรังสี
การตรวจเลือด
การตรวจขึ้นการตรวจขึ้นสะท้อนความถี่
การตรวจขึ้นไฟฟ้าหัวใจ
การประเมินระดับความดันในหัวใจห้องบนซ้าย
เคสกรณีสึกษา
ผู้ป่วยได้ทำการฉีดสี CAG (Coronary Artery Angiography )
ไม่มีเส้นเลือดหัวใจตีบ แต่พบหัวใจโตอาจจะเป็นเพราะการได้รับยาเคมีบำบัดจากการรักษามะเร็งเต้านม