Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า มีได้ทั้งที่มีการหลั่งฮอร์โมนมากกว่าปกติ และ การหลั่งฮอร์โมนน้อยกว่าปกติหากมีมากเกินไปในวัยเด็กจะทำให้ ร่างกายสูงผิดปกติ (gigantism)
เนื้องอกของต่อมใต้สมอง (pituitary tumor)
การเกิดเนื้องอกอาจมีผลต่อการสร้างฮอร์โมนที่ต่อมใต้สมองทำหน้าที่อยู่ เช่น ฮอร์โมนกระตุ้น การเจริญเติบโต (growth hormone) ฮอร์โมนเพศ (FSH, LH) ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมน้ำนม (Prolactin) ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมหมวกไต (ACTH) ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (TSH) เป็นต้น
อาการและอาการแสดงของเนื้องอกต่อมใต้สมอง
อาการที่เกิดจากฮอร์โมนน้อยกว่าปกติ
อาการของ mass effect และการกดเบียดเนื้อเยื่อข้างเคียง
อาการที่เกิดจากการหลั่งฮอร์โมนมากกว่าปกติ
การรักษาโรคเนื้องอกของต่อมใต้สมอง
การรักษาแบบประคับประคอง สำหรับผู้ป่วยที่ไม่มีอาการวิกฤตสามารถให้การรักษา แบบประคับประคองได้
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยโรคเนื้องอกของต่อมใต้สมอง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การรับรู้ทางสายตา และประสาทสัมผัสแปรปรวนทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
อาจเกิดการหายใจขัดข้องหรือหยุดการหายในขณะนอนหลับ
มีความแปรปรวนในระบบไหลเวียนโลหิต และหัวใจ
4.ไม่สามารถปฏิบัติภารกิจตามปกติได้ เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ทุกข์ทรมานจากการปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อและข้อต่อต่าง ๆ
มีการขาดอาหาร และโภชนาการจากพยาธิสภาพของโรค
กิจการพยาบาล
ประเมินอาการทางระบบประสาท ระดับความรู้สึกตัว รูม่านตา ลานสายตา และกล้ามเนื้อ ลูกตาบ่อย ๆ พร้อมทั้งสอนให้ผู้ป่วยสังเกตตัวเอง ถ้ามีสายตาผิดปกติให้รีบปรึกษาทันที
ติดตามซักถามเกี่ยวกับอาการเจ็บ ชา ตามมือ เท้า และตรวจสอบความเจ็บปวด ความรู้สึกของมือและเท้า เพื่อประเมินการรักษาและติดตามการดำเนินของโรค
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย เช่น แสงไฟสว่าง การวางของใช้อย่างเป็นระเบียบห้อง สำรวจสิ่งของและจดบันทึกความเปลี่ยนแปลงในการมองเห็น
เมื่อต้องการติดต่อกับผู้ป่วย ต้องเข้าไปใกล้ ให้ผู้ป่วยมองเห็นชัดเจน และหัดให้ผู้ป่วยมองรอบ ๆ
ประเมินการทรงตัว ในการเดิน ควรให้ผู้ป่วยสวมรองเท้าขณะเดิน
หลีกเลี่ยงการประคบด้วยความร้อนจัดหรือเย็นจัด
คอยสังเกตและซักถามอาการแน่นหน้าอก หายใจหอบเหนื่อย อัตราการหายใจ ลักษณะการหายใจและวัดทรวงอก เปรียบเทียบด้านหน้า-หลัง และด้านข้าง
ฟังเสียงปอด เสียงหัวใจ อย่างสม่ำเสมอ ตรวจดูความดันโลหิต และความดันในหลอด โลหิตดำที่คอและคลำชีพจร
สนับสนุนให้ผู้ป่วยลดอาหารเค็มและที่มีโคเลสเตอรอลสูง
สนับสนุนให้ผู้ป่วยทำใจให้สงบ และให้มีกิจกรรมประจ าขณะพักรักษาตัว
ประเมินการเคลื่อนไหวของแขน ขา การทำงานคำสั่ง
ประเมินความเจ็บปวด ความไม่สุขสบายและช่วยให้ผู้ป่วยค้นหาวิธีที่ทำให้ตนเองสุขสบาย
ติดตามอาการของภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ลดภาวะเครียดและความวิตกกังวล โดยช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจสภาพที่เป็นอยู่และร่วมมือกับการรักษา
เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายเกี่ยวกับความเจ็บป่วยร่วมกับแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่และญาติ
สนับสนุนการพูดคุยกับเรื่องเพศผู้ป่วยระหว่างสามีหรือภรรยา
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary)
ฮอร์โมนที่หลั่งจากกลุ่มเซลล์ประสาทมีดังนี้คือ
Oxytocin เป็นฮอร์โมนที่หลั่งจากกลุ่มเซลล์ประสาทParaventricularในสมองส่วนไฮโปทา
ลามัสผ่านก้านเนื้อต่อมใต้สมอง(infundibulum)
Antidiuretic hormone หรือVasopressin (ADH) เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจากกลุ่มเซลล