Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยแพทย์เตรียมตรวจพิเศษ, นางสาววิมลสิริ กะหมาย 6203400006 - Coggle…
การช่วยแพทย์เตรียมตรวจพิเศษ
หลักทั่วไปในการช่วยแพทย์
การเตรียมด้านจิตใจ => ให้ข้อมูล ผลของการกระทำ ตรวจส่วนใด ใครทำทำ นานเท่าไหร่
การเตรียมด้านร่างกาย => จัดท่านอน แนะนำผุ้ป่วย การเตรียมผู้ป่วย
การเตรียมเครื่องมือ => ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือ เตรียมเครื่องมือให้พร้อมใช้ ทดสอบเครื่องมือ
การช่วยเหลือในการตรวจ
การดูแลสิ่งส่งตรวจ
การบันทึกและรายงานผล
กระประเมินผล
การตรวจที่พบบ่อย
การตรวจด้วยคลื่นไฟฟ้า
E.K.G. / E.C.G.
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ มีแผ่นโลหะซึ่งเป็นอิเล็กโตรด จากเครื่องบันทึกต่อกับร่างกายผู้ป่วย 4 จุดกับแขนขา 6 จุดที่หน้าอก
ตำแหน่งการติด
=> V1 ช่องซีโครงที่ 4 ของขอบขวาของ sternum
=> V2 ช่องซีโครงที่ 4 ของขอบซ้ายของ sternum
=> V3 อยู่กึ่งกลาง V2 V4
=> V4 ช่องซี่โครงที่ 5 แนวกึ่งกลาง clavicle
=> V5 แนวเดียวกับ V4 แนว anterior axillary
=> V6 แนวเดียวกับ V4 แนว mid axillary
การช่วยเหลือในการตรวจ
ก่อนตรวจ => บอกวัตถุประสงค์ ให้นอนนิ่งๆ ไม่พูดหรือขยับตัว
ตรวจ => กั้นม่าน จัดท่านอนหงาน ติดแผ่นอิเล็กโตรด
หลังตรวจ => ปกติ
E.E.G. คลื่นไฟฟ้าสมอง
การช่วยเหลือในการตรวจ
ก่อนตรวจ => บอกวัตถุประสงค์ สระผมไม่ใส่น้ำมัน งดเหล้า ชา กาแฟ ยากันชัก
ตรวจ => นอนหงาย (ห้องมืด) ใช้ครีมป้ายหัว กระตุ้นให้ชักโดยการเปิดตาปิดตาจ้องแสง
หลังตรวจ => ทำความสะอาดเส้นผม
สารรังสีและสารทึบรังสี
ทางเดินอาหารส่วนบน
กลืนสารทึบรังสีเช่น แป้งแบเรียมร่วมกับการเอกซเรย์
การช่วยเหลือการตรวจ
ก่อนตรวจ => บอกวิธีการ งดอาหารอย่างน้อย 6 ชม.
ตรวจ => กลืนแป้ง จัดท่า
หลังตรวจ => รับประทานอาหารและให้ตื่มน้ำมากๆ
ทางเดินอาหารส่วนล่าง
สวนแบเรียมไปในลำไส้ใหญ่แล้วถ่ายภาพเอ็กซเรย์
การช่วยเหลือการตรวจ
ก่อนตรวจ => บอกวัตถุประสงค์ วิธีการ ความรู้สึก ทานอาหารอ่อนก่อนตรวจ 2 วัน ดื่มน้ำมันละหุงก่อนตรวจ งดอาหารหลังเที่ยงคืน ห้ามดื่มนม สวนอุจจาระก่อนตรวจ
ตรวจ => นอนตะแคงกึ่งคว่ำ ผสมแบเรียม 500g/น้ำ 100 ml สวนไปในลำไส้ใหญ่ และปรับเตียง ถ่ายภาพเอ็กซเรย์ และพาไปขับถ่าย
หลังตรวจ => ทานอาหารและดื่มน้ำมากๆ นอนมากๆ อุจจาระสีจางหรือขาว 2-3 วัน
ตรวจกรวยไตโดยฉีดสารทึบรังสีเข้าหลอดเลือดดำ IVP
ดูขอบเขต ขนาด รูปร่างและหน้าที่ของไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ
การช่วยเหลือการตรวจ
ก่อนตรวจ => อธิบายให้ทราบ ซักประวัติการแพ้อาหารทะเล NPO หลังเที่ยงคืน ทานยาระบาย สวนอุจจาระ
ตรววจ => หมอฉีดสารทึบรังสี เอ็กซเรย์ ช่วยสังเกตการแพ้ และเตรียมช่วยเหลือ
หลังตรวจ => สังเกตการแพ้
การเจาะหรือตัดชื้นเนื้อ
เจาะหลัง LP
แทงเข็มเข้าไขสันหลังข้อที่ 3-4 หรือ 4-5 ช่องใต้ subarachnoid space เพื่อดูเซลล์และชนิดเนื้อหรือวัดความดันของไขสันหลัง ปกติอยู่ที่ 8-20 cmH2O
สูงอาจเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ต่ำอาจมีเนื้องอกอุดตัน
การช่วยเหลือในการตรวจ
ก่อน => แจ้งให้ผู้ป่วยทราบ แนะนำถ่ายปัสสาวะ
ตรวจ => นอนตะแแคง งอเข่าชิดอก หลังชิดขอบเตียง แพทย์เจาะหลัง
หลังตรวจ => นอนราบ 24 ชม. v/s 30 นาทีx4 1ชม.x4 ดูรูม่านตาและความรู้สึกตัว ดื่มน้ำมากๆ ชม.ละแก้ว ดูแผล
เจาะท้อง
การช่วยเหลือในการตรวจ
ก่อนตรวจ => วัตถุประสงค์ วิธี เวลา 45 นาที วัด v/s ให้ไปปัสสาวะ
ตรวจ => จัดท่านั่งห้อยเท้า หมอนรองหลังและแขน หรือนอนหัวสูง
=> ทำความสะอาดหน้าท้องสะดือ-หัวหน่าวด้วยเบตาดีนและแอลกอฮอล์
=> แพทย์เจาะ และเตรียมขวด 1000 ml 2-3ใบ
=> บางรายใช้ท่อระบาย 3 ทาง และสวมกับกระบอกฉีดยา 50 ml
=> v/s ทุก 15 นาที
หลังตรวจ => ชั่งน้ำหนัก วัดรอบท้อง v/s 2-3 ชม บันทึกการตรวจ
การเจาะเยื่อหุ้มปอด
แทงเข็มเข้าเยื่อหุ้มปอด เพื่อให้ปอดขยายตัวดีขึ้น ตรวจหาแบคทีเรีย เซลล์มะเร็ง
การช่วยเหลือในการตรวจ
ก่อนตรวจ => บอกวิธีการเจาะและการปฏิบัติตัว ดูการหายใจ ชีพจร สีผิว
ตรวจ => จัดท่านั่งชิดขอบเตียง ฟุบหน้ากับโต๊ะคร่อมเตียงหรือหัวสูง วางแขนไว้เหนือศีระษา
=> ทำความสะอาด แทงเข็มบริเวณซีโครงซีที่ 7 ลากเป็นแนวดิ่งจากมุมกระดูกสะบัก
=> เตรียมฟิล์มเอ็กซเรย์
=> ใช้ท่อระบาย 3 ทาง เตรียมขวดไว้ 1-2ใบ
=> ถ้าผู้ป่วยไอหรือจาม ต้องพักการดูดน้ำ
=> สังเกตอาการช็อค หนาวสั่น ปวด N/V หายใจลำบาก อ่อนเพลีย
=> ปิดก๊อซให้แน่นและทิ้งไว้สักครู่
หลังตรวจ
=> นอนตะแคงข้างที่ไม่ถูกเจาะ หรือหัวสูง
=> ดูแผล ดูอาการไอเป็นเลือด จุก แน่นหน้าอก
=> บันทึกการทำและส่งตรวจ
ตัดชิ้นเนื้อตับ
แทงเข็มพิเศษเข้าทางผนังหน้าท้องบริเวณซีโครงที่ 9 ด้านหน้าแนวกลางรักแร้ด้านขวา และดูดเอาเนื้อตับไปตรวจ
ข้อห้าม
=> ผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือ ผู้ป่วยเกร็ดเลือดน้อยกว่า 80000-100000 ผู้ป่วยมีการแข็งตัวของเลือดน้อยกว่า 50% ผู้ป่วยมีการติดเชื้อี่ปอดส่วนล่าง ท้องมาน ท้องอักเสบ เหลือง ถุงน้ำดีโตกว่าปกติ ผู้ป่วยมะเร็ง
อาจช่องื้องอักเสบหรือปอดแฟบ
การช่วยเหลือในการตรวจ
ก่อนตรวจ => อธิบายการตรวจ งดอาหารอย่างน้อย 6 ชม. ตรวจเลือด หลังตรวจอาจให้ vitk. ขอเลือด
ตรวจ => จัดท่านอนหงาย ยกแขนรองใต้หัว หันหน้าไปทางซ้าย เอียงตัวไปซ้ายเล็กน้อย
=> ทำความสะอาด ฉีดยาชา แนะนำหายใจเข้าออกลึกๆหลายๆครั้ง แล้วหายใจออกเต็มที่แล้วกลั้นไว้ แพทย์จะแทงเข็มอย่างเร็ว และหายใจได้ปกติ
หลังตรวจ => นอนตะแคงขวา 1-4 ชม. ห้ามลงเตียง 24 ชม.
=> v/s 30นาทีใน 4 ชม.แรก และทุกชั่วโมง
=> สังเกตอาการเจ็บปวด นำเนื้อมาแช่ฟอร์มาลิน
ส่องกล้อง
ตรวจทางเดินอาหารส่วนบน
ตรวจหลอดอาหาร-ลำไส้เล็กส่วนต้น กล้องขนาดผ่านศูนย์กลาง 0,8-1 cm ยาว 100cm ปลายกล้องมีไฟ
การช่วยเหลือการตรวจ
ก่อนตรวจ => บอกจุดประสงค์ วิธี ให้งดน้ำงดอาหาร 6-12 ชม. ตรวจปอด ทำความสะอาดปาก ถอดฟันปลอม แว่นตา ของมีค่า ให้ยา atropine ลกการหลั่งของน้ำลาย
ตรวจ
=> พ่นยาชา ชา 30-60 นาที คาบอุปกรณ์กันกล้องกระแทก นอนตะแคงซ้าย
=> แพทย์ส่องกล้อง ให้ผู้ป่วยกลืนกล้อง ห้ามหายใจทางปากหรือกลืนน้ำลาย แพทย์ใส่ลมเพื่อให้เห็นชัด ทำนาน 10-20 นาที
หลังตรวจ => ชาคอ บ้วนน้ำลายทิ้ง ห้ามดื่มน้ำรับประทานอาหาร
ตรวจทางเดินอาหารส่วนล่าง
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 cm ยาว 160 cm
การช่วยเหลือการตรวจ
ก่อนตรวจ => ซักประวัติโรคประจำตัว แพ้ยา หยุดยาละลายลิ่มเลือด 7 วัน ก่อนตรวจ 2 วันทานอาหารอ่อน 1 วันก่อนตรวจทานอาหารเหลว หลังเที่ยงคืนดื่มน้ำได้อย่างเดียว เซ็นใบยินยอม
ตรวจ => สวนอุจจาระ นอนตะแคงซ้าย ให้ยากล่อมประสาท ตรวจ 30-45นาที
หลังตรวจ => งดน้ำงดอาหาร 1-2 ชม อาจปวดท้องหรือมีไข้
ตรวจพิเศษอื่นๆ
คอมพิวเตอร์ CT
การช่วยเหลือการตรวจ
ตรวจ => นอนหงาย นอนนิ่งๆ กระสับกระส่ายอาจต้องใช้ยาสลบ
หลังตรวจ => หากฉีดสีต้องสังเกตการแพ้
MRI
การเตรียมผู้ป่วย
=>บอกให้ทราบว่าเครื่องทำงานจะรู้สึกเหมือนอยู่ในห้องแคบ มีเสียงดังเป็นระยะ ให้นอนนิ่งหลับตา
=> รู้สึกผิดปกติให้แจ้ง งดแต่งหน้า งดของโลหะ
U/S การช่วยเหลือการตรวจ
ก่อนตรวจ => อธิบาย เวลา 20-45นาที อาจต้องสวนอุจจาระ ตรวจท้องให้กลันปัสสาวะ
ตรวจ => จัดท่านอนหงาย ทาสารหล่อลื่น
หลังตรวจ => เช็ดสารหล่อลื่น
นางสาววิมลสิริ กะหมาย 6203400006