Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบทางเดินปัสสาวะระยะเฉียบพลันและเร…
บทที่13
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบทางเดินปัสสาวะระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
ไต
หน้าที่ของไต
ขับของเสียออกจากร่างกาย (BUN, Cr, Uric acid)
ปรับความสมดุลของน้ำเกลือแร่ความเป็นกรดด่าง
ควบคุมความดันโลหิต (Na, H20)
ขับสารต่างๆ (ยาที่รับประทานเข้าไปสารเคมี)
สร้างฮอร์โมน
สร้างฮอร์โมน
Distal tubule หลั่ง Renin Aldosterone ดูดกลับของ Na, H20
Renal tubule สร้าง Erythropoietin กระตุ้นไขกระดูกสร้างเม็ดเลือด (Wbc, Rbc, Pit)
Vit D ช่วยในการดูดกลับของ Ca จากลำไส้มาเก็บสะสมที่กระดูก
Prostaglandine ช่วยในการหดและขยายของหลอดเลือด
การซักประวัติและการประเมินภาวะสุขภาพระบบทางเดินปัสสาวะ
การซักประวัติในระบบทางเดินปัสสาวะ
1.1.อายุเนื่องจากวัยที่แตกต่างกันร่างกายจะมีการสร้างน้ำปัสสาวะแต่ละวันแตกต่างกัน
1.2.แบบแผนการรับประทานอาหารและน้ำ ได้แก่ อาหารหรือเครื่องดื่มที่รับประทานและดื่มเป็นประจำ
1.3.ประวัติการใช้ยาควรซักประวัติเกี่ยวกับยา
1.4 ประวัติโรคประจำตัวหรือความเจ็บป่วยอื่น ๆ
1.5. แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
-การกลั้นปัสสาวะ
1.6.ความกดดันทางด้านจิตใจเมื่อบุคคลมีความเครียดบางคนจะปัสสาวะบ่อยขึ้นจะเพิ่มความไวต่อความรู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะ
1.7.การออกกำลังกาย
การประเมินภาวะสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
2.1 อาการปวดระบุตำแหน่ง (Location) ลักษณะ (Characteristic) ปวดร้าว (Radiation) ระยะเวลาที่ปวด (Onset)
2.2 ความผิดปกติในการขับถ่ายปัสสาวะ
2.3 ความผิดปกติเกี่ยวกับลักษณะปัสสาวะ
2.4 ความผิดปกติเกี่ยวกับจำนวนปัสสาวะ
2.5 อาการบวม (Edema)
2.6 มีก้อนในท้อง (Mass)
การติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะ (cystitis)
คือ การอักเสบของผนังกระเพาะปัสสาวะ (inflammatory) มักมสาเหตุจากการติดเชื้อที่เกิดขึ้นบริเวณผนังของกระเพาะปัสสาวะเชื้อแบคทีเรีย
สาเหตุ
การมีก้อนนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
การคาสายสวนปัสสาวะ
กายวิภาคของท่อทางเดินปัสสาวะของเพศหญิงที่ทำให้มีอัตราการติดเชื้อที่สูงกว่าเพศชาย
การมีเพศสัมพันธุ์ซึ่งเป็นถ่ายทอดเชื้อโรคสู่เพศตรงข้าม (exposure)
การฉายรังสี (radiation)
พยาธิสรีรวิทยา
-เมื่อมีการติดเชื้อเกิดขึ้นจะมีการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะชั้น mucosa และ Submucosa เท่านั้น
-เนื้อเยื่อจะบวมแดงทั่วไปหรือเป็นหย่อม ๆ บางแห่งอาจมีเลือดออกเนื่องจากการฉีกขาดของเนื้อเยื่อที่ขยายตัวมากขึ้นเมื่อมีการบวมและมีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะส่วนล่างร่วมด้วย
-หากไม่ได้รับการรักษาจะกลายเป็นการอักเสบเรื้อรังมีการลุกลามไปกล้ามเนื้อรอบ ๆ กระเพาะปัสสาวะอักเสบด้านนอกมีพังผืดเกิดขึ้นทำให้กระเพาะปัสสาวะหดเล็กลงความจุของกระเพาะปัสสาวะจะลดลงด้วย
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมลูกหมากอักเสบ
กรวยไตอักเสบ
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
•เจ็บปวดขณะถ่ายปัสสาวะ (burning) ปัสสาวะบ่อยและบางครั้งกลั้นปัสสาวะไม่ได้
•อยากถ่ายปัสสาวะบ่อย (Urgency)
•ปวดบริเวณหัวเหน่าปัสสาวะขุ่นหรือสีโคล่าหรือสีแดงซึ่งเป็นสีของการมี R.B.C. , W.B.C. หรือทั้ง 2 อย่างรวมกัน
การประเมินภาวะสุขภาพกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
การซักประวัติถ่ายปัสสาวะขัดและปวดแสบปวดร้อนขณะถ่ายรู้สึกปวดท้องน้อยปัสสาวะขุ่นและมีเลือดปนบางรายให้ประวัติว่าปวดหลังด้านข้าง (CVA) กลั้นปัสสาวะไม่ได้นานมีปวดเบ่งตลอดเวลา
การตรวจร่างกายกดเจ็บท้องน้อยในผู้ชายอาจพบต่อมลูกหมากโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพบ WBC RBC ทำการเพาะเชื้อพบแบคทีเรียจำนวนมาก
การพยาบาล
-ให้ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
-ให้ยาแก้ปวด (analgesic) พวก Pyridium (phena20 Pyridine) เพื่อลดปวดและการหดเกร็ง (spasm) ของกระเพาะปัสสาวะ
-หลีกเลี่ยงการส่วนปัสสาวะ
-ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอให้ดื่มน้ำมาก ๆ
-บันทึกจำนวนสารที่เข้าและออก.
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
(Urinary tract Infection หรือ UTI)
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแบบไม่ซับซ้อน (uncomplicated UTI)
คือการติดเชื้อในผู้ป่วยที่มีสุขภาพแข็งแรงโดยมีหน้าที่หรือโครงสร้างของระบบทางเดินปัสสาวะปกติ
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะแบบซับซ้อน (complicated UTI)
คือการติดเชื้อในผู้ป่วยที่อ่อนแอหรือมีโครงสร้างและหน้าที่ของระบบทางเดินปัสสาวะผิดปกติ ได้แก่ ผู้ชายเด็กสตรีตั้งครรภ์มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนมีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้รับการรักษาด้วยยาไม่ได้ผลหรือหลังรักษาด้วยยาแล้วยังคงมีอาการตลอดผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะมีการติดเชื้อจากโรงพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการทำหัตถการเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะมาเมื่อไม่นานผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางกายวิภาคของทางเดิน
เชื้อแบคทีเรียสามารถเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะได้ 3 ทาง
1.การติดเชื้อย้อนกลับขึ้นไปจากท่อปัสสาวะ (ascending Infection)
เชื้อโรคกระจายตัวมาทางกระแสเลือด (hematogenous route)
เชื้อโรคกระจายมาทางกระแสน้ำเหลือง (lymphatic route)
การตรวจวินิจฉัยโรค
1การซักประวัติผู้ป่วย
การตรวจร่างกายจากการสัญญาณชีพ
การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ (Urine analysis)
การตรวจทางรังสีเช่น KUBIVP หรือ RP
การพยาบาล
1.บรรเทาความเจ็บปวดและดูแลความไม่สุขสบาย
ของผู้ป่วย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้ดื่มน้ำและรับประทานอาหารพอเพียงแนะนำดื่มน้ำวันละ 2-3 ลิตร
ป้องกันและประเมินภาวะช็อกจากการติดเชื้อ
ติดตามประเมินผลการรักษาและหน้าที่ของไตโดยจำนวนของเหลวและจำนวนปัสสาวะทุกวัน
ดูแลทางด้านจิตใจ
การอุดกั้นของระบบทางเดินปัสสาวะ
หมายถึงการขัดขวางการไหลของปัสสาวะอาจเกิดขึ้นได้ตั้งแต่บริเวณไตท่อไตกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะปัสสาวะที่ขังอยู่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่การทำงานของไต
ชนิดของการอุดกั้น
แบ่งตามลักษณะการอุดกั้น
1.1 Partial obstruction อุดกั้นเพียงบางส่วนน้ำปัสสาวะไหลผ่านไปได้บ้างพบมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างมากกว่าหน้าที่
1.2 Complete obstruction anrinaling สมบูรณ์น้ำปัสสาวะไม่สามารถไหลผ่านลงไปได้การอุดกั้นลักษณะนี้จะเสียหน้าที่อย่างรวดเร็ว
จำแนกตามตำแหน่งที่เกิด
2.1 การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนบนอุดกั้นตั้งแต่รูเปิดของท่อไตในกระเพาะปัสสาวะขึ้นไปถึงไตเกิดข้างเดียวหรือ 2 ข้างก็ได้สาเหตุที่พบบ่อยคือนิ้วและเนื้องอก
2.2 การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนล่างหมายถึงอุดกั้นตั้งแต่คอกระเพาะปัสสาวะถึงรูเปิดของท่อปัสสาวะส่วนใหญ่เกิดจากต่อมลูกหมากโตมะเร็งต่อมลูกหมากมะเร็งกระเพาะปัสสาวะและนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
พยาธิสรีรวิทยา
-การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเหนือตำแหน่งที่อุดกั้น
-เมื่อมีน้ำปัสสาวะขังจะมีแรงดันเพิ่มขึ้นเหนือตำแหน่งที่มีการอุดกั้น
-การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะมีทั้งทางด้านรูปร่างและหน้าที่
หลักการรักษา
แก้ไขปัญหาปัสสาวะคั่งเฉียบพลัน
ระบายน้ำปัสสาวะเหนือตำแหน่งที่มีการอุดกั้น
ขจัดการติดเชื้อ
นิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ
หมายถึงการรวมตัวจับเป็นก้อนผลึกของสารที่ละลายอยู่ในน้ำปัสสาวะกับสารคอลลอยด์ซึ่งเป็นโปรตีนที่ละลายอยู่ในน้ำปัสสาวะ
สาเหตุของการเกิดนิ่ว
1.สาเหตุความผิดปกติที่เกี่ยวกับภายในตัวผู้ป่วยเอง
สาเหตุที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของผู้ป่วย
สาเหตุเกี่ยวกับลักษณะของน้ำปัสสาวะปกติ
ชนิดของนิ่ว
1) แคลเซียมออกซาเลท (calcium oxalate)
2) แคลเซียมฟอสเฟต (calcium phosphate)
3) แมกนีเซียมแอมโมเนียมฟอสเฟต (magnesium ammonium phosphate)
พยาธิสรีรวิทยา
การทำหน้าที่ของไตลดลง
การระคายเคืองเฉพาะที่
การติดเชื้อที่เกิดขึ้นร่วมกับนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
นิ่วในไต (renal calculi, RC) ส่วนมากเกิดการอุดกั้นที่คอปัสสาวะ (bladder neck) มักเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะร่วมกับการติดเชื้อ
นิ่วในหลอดไต
(Ureteric calcull, UC)
-ตรงรอยต่อของกรวยไตกับท่อไต (Ureteropelvic Junction)
-บริเวณที่ท่อไตพาคผ่านเส้นเลือดไอลิแอค (pelvic brim)
-รูเปิดของท่อไตเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ (ureterovesical junction)
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
(veslcal calcull, VC)
-ส่วนมากเกิดการอุดกั้นที่คอปัสสาวะ (bladder neck) มักเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะร่วมกับการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดงนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
-ผู้ป่วยมีอาการถ่ายปัสสาวะลำบาก
-ปวดเอวหรือปวดหลังปวดท้อง
-บางรายมีอาการปัสสาวะหยุดไหลอย่างกระทันหันขณะที่กำลังถ่าย
-เมื่อก้อนนิ้วเลื่อนมาอุดที่ทางออกของกระเพาะปัสสาวะการอุดกั้นตำแหน่งนี้มีผลรบกวนการทำงานของไตได้ทั้ง 2 ข้าง
-พบปัสสาวะสีเหลืองเข้มปัสสาวะเป็นเลือดปัสสาวะขุ่นมีแบคทีเรียหนองและตกตะกอนแขวนลอย (Crystals) 9
การตรวจวินิจฉัย
-ตรวจพบระดับแมกนีเซียมฟอสเฟต
-ตรวจหาพาราไทรอยด์ฮอร์โมน
การรักษา
การผ่าตัด
-การผ่าตัดกรวยไตเอานิ้วในไตออก (pyelolithotomy)
-การเจาะผ่านผิวหนังเข้าสู่ไตเปิดแผลเล็ก ๆ บริเวณสีข้างใส่ท่อเล็ก ๆ ที่ติดกล้องส่อง
ผ่านเข้าไปเพื่อขบนิ้วให้แตกคลื่นเสียงหรือเลเซอร์กระทบ
-ก้อนนิ่วถูกทำให้แตกเป็นเศษเล็ก ๆ โดยการใช้เลเซอร์ (laser therapy)
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการมีเลือดออกการอุดกั้นและติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ไม่สุขสบายเนื่องจากอาการปวดแผล
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
(Bladder cancer)
คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ในกระเพาะปัสสาวะที่มีการเจริญเติบโตแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์อย่างรวดเร็วและมากผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกขึ้นมาและก้อนเนื้องอกนี้สามารถเจริญเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ จนอาจเต็มกระเพาะปัสสาวะลุกลามไปยังอวัยวะและต่อมน้ำเหลืองข้างเคียงและแพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือคได้
แบ่งได้เป็น 3 ชนิด
Transitional Cell Cancer (TCC)
Squamous Cell Carcinoma (SCC)
Adenocarcinoma
สาเหตุ
-ปัจจัยเสี่ยงคือการสูบบุหรี่, เป็นนิ่วเรื้อรัง, สัมผัสสารเคมีนาน ๆ , กินเนื้อปิ้งย่าง, อาหารไขมันสูง, -ชายผิวขาวสูงอายุ, ติดเชื้อพยาธิบางชนิด
การตรวจวินิจฉัยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
-การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
-ก้อนมะเร็งเรื้อรังแล้วปนการตรวจปัสสาวะ (Urinalysis) การตรวจเลือดซีบีซี (CBC)
-การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
-การตรวจหาเซลล์มะเร็งในน้ำปัสสาวะ (Urine cytology) การตรวจไตและทางเดินปัสสาวะโดยการฉีดสี (Intravenous Pyelogram-IVP)
การรักษาโดยการผ่าตัด
-การผ่าตัดโดยการส่องกล้องผ่านทางท่อปัสสาวะเพื่อตัดชิ้นเนื้องอกของกระเพาะปัสสาวะออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ
-การผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะออกบางส่วน (Partial Cystectomy หรือ Segmental cystectomy)
-การผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะออกทั้งหมด (Radical Cystectomy)
-การผ่าตัดทำทางเดินปัสสาวะใหม่ (Urinary diversion)
การผ่าตัดทำการผ่าตัดทำทางเดินปัสสาวะใหม่
(Urinary diversion)
-lleal condult
เป็นการนำท่อไตทั้ง 2 ข้างมาเย็บต่อเข้ากับส่วนของลำไส้เล็กส่วนปลายที่นำมาทำเป็นกระเพาะปัสสาวะใหม่แล้วเปิดทางหน้าท้องเรียกว่า“ ทวารเทียม” หรือ“ สโตมา” (Stoma) เพื่อใช้เป็นช่องทางขับถ่ายปัสสาวะ (สโตมาจะอยู่บริเวณหน้าท้องด้านขวาส่วนล่างเป็นสโตมาที่เปิดถาวรและไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายได้ดังนั้นผู้ป่วยจะต้องใช้ถุงรองรับปัสสาวะตลอดเวลา
-Indiana pouch
เป็นการผ่าตัดเอาลำไส้ใหญ่ส่วนต้นและลำไส้เล็กส่วนปลายมาดัดแปลงเป็นกระเพาะปัสสาวะใหม่แล้วเย็บต่อกับท่อไตทั้ง 2 ข้างและเปิดทางหน้าท้องขนาดเล็ก
-Neobladder
เป็นการผ่าตัดทำกระเพาะปัสสาวะขึ้นมาใหมโดยใช้บางส่วนของลำไส้เล็กมาเย็บติดเป็นกระเปาะเชื่อมต่อกับท่อปัสสาวะแล้วนำท่อไตทั้ง 2 ข้างมาเย็บต่อเข้ากระเพาะปัสสาวะใหม่และมีข้อดีเหมือนวิธี Indiana pouch
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนช่องทางขับถ่ายปัสสาวะการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนช่องทางขับถ่าย
1.การสังเกตสีและลักษณะของน้ำปัสสาวะปกติ
ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อขับเมือกที่จะมากับน้ำปัสสาวะและรับประทานอาหารที่ส่งเสริมให้ปัสสาวะเป็นกรดเช่นน้ำกระเจี๊ยบแดง
การดูแลผู้ป่วยผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะใหม่โดยวิธี neobladder
การดูแลผู้ป่วยที่มีสโตมาเปิดทางหน้าท้องประเมินตำแหน่งและลักษณะของสโตมา
การดูแลผิวหนังรอบ ๆ สโตมาผิวหนังรอบสโตมา
การดูแลด้านจิตใจ
การทำกิจกรรมและการออกกำลังกาย
การทำงานหลังผ่าตัดประมาณ 1-2 เดือนผู้ป่วยสามารถกลับไปทำงานได้ตามปกติ
การสวมใส่เสื้อผ้าผู้ป่วยสามารถสวมเสื้อผ้าได้ตามปกติ แต่ควรหลีกเลี่ยงการกดทับบริเวณสโตมาเนื่องจากให้สโตมา
การมีเพศสัมพันธ์ผู้ป่วยบางรายอาจจะวิตกกังวลในเรื่องเพศสัมพันธ์ภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนช่องทางขับถ่ายปัสสาวะการมีสโตมาไม่ส่งผลต่อการมีเพศสัมพันธ์
การเดินทางไกลการมีสโตมาที่หน้าท้องไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางไกล
การรักษาโรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
-รังสีรักษา
-เคมีบำบัด
การพยาบาล
การดูแลทางจิตใจโดยเฉพาะผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งของกระเพาะปัสสาซึ่งต้องผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะออกทางระบายใหม่
การเตรียมความสะอาดของลำไส้โดยควรให้การพยาบาลโดย
-ให้อาหารที่มีกากน้อย (low residualdiet) ก่อนทำผ่าตัดประมาณ 1 วัน "
-หลังจากนั้นให้อาหารเหลวใส (clear fluid diet) 1-2 วัน-ให้ยาปฏิชีวนะที่ช่วยลดจำนวนแบคทีเรียในลำไส้โดยตรง
-ให้ยาระบายหรือยาถ่าย
การเตรียมผิวหนังสำหรับทำผ่าตัด
การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ
หมายถึงการใส่น้ำยาเข้าไปชะล้างในกระเพปัสสาวะทางสายสวนปัสสาวะแล้วปล่อยให้น้ำยาไหลออกมาเป็นวิธีการสวนล้างที่ใช้กับผู้ป่วยที่มีเลือดสดๆออกค่อนข้างมากหรือมีออกมาเรื่อยเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดลิ่มเลือดอุดกั้นการไหลของปัสสาวะ
วัตถุประสงค์
ระงับการตกเลือดหรือล้างหนองสิ่งที่คั่งค้างภายหลังผ่าตัดทางเดินปัสสาวะที่เช่นผ่าตัดต่อมลูกหมากโต
ลดการอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
กระตุ้นให้กระเพาะปัสสาวะทำงานดีขึ้น
ล้างกระเพาะปัสสาวะให้สะอาดในผู้ป่วยที่ต้องส่วนคาสายปัสสาวะนานมีปัสสาวะขุ่นเป็นตะกอนขาวหรือเป็นหนอง
ข้อบ่งชี้
1.ผู้ป่วยที่ผ่าตัดในทางเดินปัสสาวะเช่น ผ่าตัดต่อมลูกหมากเนื้องอกในกระเพาะปัสสาวะนิ่วในทางเดินปัสสาวะซึ่งผู้ป่วยมักมีปัสสาวะเป็นเลือดอาจจะทำให้เกิดลิ่มเลือดไปอุดกั้นกระเพาะปัสสาวะไม่ให้ไหลหรือไหลไม่สะดวก
ผู้ป่วยที่มีอาการอักเสบติดเชื้อมากเกิดกระเพาะปัสสาวะขุ่นเป็นตะกอนขาวหรือเป็นหนอง
การพยาบาลผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะพิการเนื่องจากประสาทได้รับอันตราย
-เป็นความผิดปกติในการทำงานของกระเพาะปัสสาวะอันเนื่องจากโรคและความผิดปกติของประสาทที่มาเลี้ยงกระเพาะปัสสาวะ
ชนิดของกระเพาะปัสสาวะพิการเนื่องจากประสาทได้รับอันตราย
Uninhibitory neurogenic bladder
2.Sensory paralytic bladder
การพยาบาล
-ฟื้นฟูหน้าที่ของกระเพาะปัสสาวะให้กลับมามีสภาพใกล้เคียงหรือเหมือนปกติ
-ป้องกันควบคุมมีให้ติดเชื้อ
-ช่วยให้ผู้ป่วยระบายปัสสาวะโดยไม่ต้องพึ่งสายสวนปัสสาวะ
-ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการยอมรับและปรับตัวเข้ากับอาชีพได้
การฝึกกระเพาะปัสสาวะ Bladder training
การช่วยเหลือให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะด้วยเทคนิคต่างๆเป็นเวลาและให้มีปัสสาวะเหลือค้างเพียงจำนวนเล็กน้อยโดยไม่ต้องมีท่อระบายปัสสาวะ
1.1 การเพิ่มแรงกดที่หน้าท้อง
1.2 การกดหน้าท้องโดยใช้วิธี (Crede method) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีกระเพาะปัสสาวะพิการชนิดอ่อนตัว
1.3 กระตุ้นผิวหนังสำหรับผู้ป่วยที่มีกระเพาะปัสสาวะพิการชนิดแข็งเกร็ง
1.4 การส่วนเอาปัสสาวะออก
กรวยไตอักเสบ (pyelonephritis: PLN)
กรวยไตอักเสบเป็นการอักเสบของกรวยไต (renal pelvls)
อาจเกิดขึ้นข้างเดียวหรือสองข้างซึ่งมักเกิดจากการติดเชื้อในส่วนล่างของทางเดินปัสสาวะแล้วลุกลามขึ้นมาถึงไตเนื้อไตท่อไตเกิดการอักเสบโดยทั่วไปอาจเกิดหนองเป็นหย่อม ๆ บริเวณเนื้อไตหลอดไตอาจเกิด necrosis
พยาธิสรีรวิทยา
-เมื่อมีการอักเสบไตจะขยายใหญ่ขึ้นเกิดมีการคั่งของเลือดและบวมมีการติดเชื้ออย่างรุนแรงเป็นหย่อม ๆ ตามผนังของกรวยไตน้อย
-กรวยไตจะบวมและมีลักษณะแคงจัดอาจมีเลือดออกด้วย
-มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของไตคือผิวไตจะมีลักษณะขรุขระจากการเกิดแผลเป็นและมีผังผืด (fibrosis) ที่โกลเมอรูลัสและหลอดเลือดฝอยตีบแคบทำให้ไตฝ่อเล็กลงเกิดไตวายและผลสุดท้ายจะเกิดภาวะยูรีเมีย (Uremia).
ภาวะแทรกซ้อน
1.ความดันโลหิตสูง
ภาวะยูรีเมีย (Uremla)
อาการและอาการแสดง
-ระคายเคืองของกระเพาะปัสสาวะ
-ปวดบริเวณไตทั้งสองข้างอาจมีไข้ต่ำ ๆ เป็น ๆ หาย ๆ
-เมื่อเป็นนาน ๆ พบมีความดันโลหิตสูง (hypertension)
-ไตฝ่อลีบ (kidney atrophy) และเมื่อถึงขั้นรุนแรงอาจกลายเป็นไตวายเรื้อรังและมีอาการของไตวายเรื้อรังตามมา.
การรักษา
1.การให้ยาปฏิชีวนะ
หากการทำลายเนื้อไต (renal parenchyma) มีความผิดปกติมาก
การพยาบาล
-ประเมินสัญญาณชีพ
-ผู้ป่วยมักมีไข้สูง หนาวสั่น ควรดูแลให้เกิดความสุขสบาย ช่วยเช็ดตัวลดไข้ด้วย (tepid sponge)
-ให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพของตนเอง (self-care) ในเรื่องสุขบัญญัติการรับประทานอาหารการขับถ่ายอาจต้องให้ perineal care ทุกเวรหรือทุกครั้งผู้ป่วยเข้าห้องน้ำ
-การนวดหลังลำตัว (back massages) จะช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบายคลายความเจ็บปวดหรือให้ยาลดปวดตามแผนการรักษา
ไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute GlomeruloNephritis)
สาเหตุ
โรคนี้มักเกิดตามหลังการติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Beta streptococcus group A
อาการและอาการแสดง
1.ปัสสาวะเป็นเลือด
2.ความดันโลหิตสูง
อาการบวม
ปัสสาวะน้อย (Oligurta) และปัสสาวะผิดปกติ
เลือกผิดปกติมียูเรียไนโตรเจนในเลือดสูงและโปรตีนในเลือด
อาการไข้สูงหัวใจโตน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
กิจกรรมการพยาบาล
มีไข้ให้ยาลดไข้เช็คตัวลดไข้
หายใจหอบเนื่องจากมีภาวะน้ำเกินดูแลให้ออกซิเจน
มีอาการบวมกดปุ่ม lab Albumin ต่ำให้ 20% albumin
ปัสสาวะออกน้อยดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
ความดันโลหิตสูงดูแลให้ bed rest และให้ยาลดความดันตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูให้งดอาหารเค็ม Na, K สูงเนื่องจากไตมีการอักเสบ
ดูแลให้ยา ATB ตามแผนการรักษา
กรวยไตอักเสบเรื้อรัง (Chronic Pyelonephritis)
มีการทำลายเนื้อไตอย่างถาวรจากการอักเสบของชนิดเฉียบพลันซ้ำสาเหตุใหญ่ ๆ
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute Pyelonephritis)
เป็นการอักเสบที่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใดและยังไม่แสดงอาการเฉพาะอย่างชัดเจน costovertebral
)