Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของพยาบาลใน การช่วยแพทย์เตรียมตรวจพิเศษ, นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ …
บทบาทของพยาบาลใน
การช่วยแพทย์เตรียมตรวจพิเศษ
หลักทั่วไปในการช่วยแพทย์ เพื่อเตรียมตรวจ
1.การเตรียมด้านจิตใจ
2.การเตรียมด้านร่างกาย
3.การเตรียมเครื่องมือ
4.การช่วยเหลือในการตรวจ
5.การดูแลสิ่งส่งตรวจ
6.การบันทึกรายงานผล
7.การประเมินผล
การตรวจที่พบบ่อย
1.การตรวจโดยใช้คลื่นไฟฟ้า
1.2 การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง
ระยะก่อนตรวจ: บอกวัตถุประสงค์ สระผมไม่ใส่น้ำมัน
งดดื่มเหล้า ชา กาแฟ สารกดประสาท ยากันชัก
ระยะตรวจนอนหงายในห้องมืด: ใช้ครีมป้ายที่หนังศีรษะ เพื่อติดเข็ม
อิเล็กโตรด อาจกระตุ้นอาการชักด้วยการให้เปิดตา ปิดตา จ้องแสง
ระยะหลังตรวจ: ทำความสะอาดเส้นผม ปฏิบัติตัวตามปกติ
1.1การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ระยะก่อนตรวจ: บอกวัตถุประสงค์และวิธีการ
ให้นอนนิ่ง ๆ ไม่ พูดหรือขยับตัว
ระยะตรวจ: กั้นม่าน จัดท่านอนหงาย ติดแผ่นอิเล็กโตรด
ระยะหลังตรวจ: สามารถปฏิบัติตัวได้ตามปกติ
การตรวจที่พบบ่อย
การตรวจเกี่ยวกับการใช้สารรังสีและ สารทึบรังสี
2.1 การตรวจทางเดินอาหารส่วนบน (Upper G.I. Series)
ระยะก่อนตรวจ : บอกวิธีการ งดอาหารอย่างน้อย 6 ชั่วโมง
ระยะตรวจ : ให้ผู้ป่วยกลืนแป้งแบเรียม จัดให้ผู้ป่วยนอนบนเตียง กรณีที่มีสิ่งแปลกปลอม อาจให้ผู้ป่วยกลืนก้อนแบเรียมชนิดพิเศษ ถ้ารู้สึกเกิดอาการติดคอให้ไอออกมาแรงๆ เพื่อจะได้เห็นตำแหน่ง สิ่งแปลกปลอมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ระยะหลังตรวจ : รับประทานอาหารและกระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ แพทย์อาจให้ยาระบาย เนื่องจากแป้งแบเรียมอาจทาให้ผู้ป่วยเกิด อาการท้องผูกได้
2.2 การตรวจระบบทางเดินอาหารส่วนล่าง
(lower G.I series, barium enema)
ระยะก่อนตรวจ : บอกวัตถุประสงค์ในการตรวจ
รับประทานอาหารอ่อน 2 วันก่อนตรวจ คืนก่อนตรวจให้
ผู้ป่วยดื่มน้ำมันละหุ่ง ถ้าตรวจตอนเช้า ให้งดอาหารหลัง เที่ยงคืน หากตรวจตอนบ่าย ให้รับประทานอาหารน้ำใส
ไม่มีนมเจือปน โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมงก่อน ตรวจ สวนอุจจาระก่อนตรวจจนสะอาด
ระยะหลังตรวจ : รับประทานอาหารและดื่มน้ำมากๆ แนะนำ ให้ผู้ป่วยพักผ่อนมากๆ อุจจาระเป็นสีจางๆ หรือขาวๆ ประมาณ 2-3 วันหลังตรวจ สังเกตการท้องผูก
2.3 การตรวจกรวยไตด้วยการฉีดสารทึบรังสีเข้าทาง หลอดเลือด ดำ (Intravenous pyelography, IVP)
ระยะก่อนตรวจ : อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ ซักประวัติการแพ้อาหารทะเล งดหรือจากัดน้าดื่มหลังเที่ยงคืนก่อนตรวจ ให้ยาระบาย 1 คืน ก่อนตรวจ หรืออาจจาเป็นต้องสวนอุจจาระในเช้าวันก่อนตรวจ เพื่อ ลดแก๊สและ อุจจาระที่จะปรากฏในภาพเอ็กซ์เรย์
ระยะหลังตรวจ : สังเกตอาการแพ้ หากพบให้รีบรายงานแพทย์
การตรวจที่พบบ่อย
การตรวจที่เกี่ยวกับการเจาะหรือ ตัดชิ้นเนื้อ
3.1 การเจาะหลัง (lumbar puncture, LP)
การแทงเข็มเข้าที่ช่องว่างระหว่างกระดูกสันหลังข้อที่ 3-4 หรือ 4-5 เข้าไปในช่อง
ใต้อแรคนอยด์ (subarachnoid space) ของไขสันหลัง เพื่อเอาน้ำไขสันหลังมา
ตรวจดูลักษณะเซลล์และชนิดของชิ้นเนื้อ หรือวัดความดันของน้ำไขสันหลัง
ซึ่งความดันปกติของน้ำไขสันหลังจะมีค่าอยู่ระหว่าง 8-20 cmH2O
ระยะหลังตรวจ : จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ 24 ชั่วโมง หรือตามแผนการรักษาของแพทย์ แต่ไม่ควรน้อยกว่า 8 ชั่วโมง วัดสัญญาณชีพทุก 30 นาที เป็นเวลา 2 ชั่วโมงและทุก
1 ชั่วโมง อีก 4 ครั้ง
3.2 การเจาะท้อง (Abdominal Paracentesis)
การดูดน้ำออกจากช่องท้อง เพื่อนำไปวินิจฉัยและการรักษา
ระยะก่อนตรวจ: บอกให้ผู้ป่วยทราบจุดประสงค์ วิธีเจาะ ระยะเวลาที่ใช้ประมาณ 45 นาที
ระยะตรวจ : จัดให้ผู้ป่วยนั่งห้อยเท้ามีที่รองรับเท้า มีหมอนรองหลังและแขนทั้ง 2 ข้าง หากผู้ป่วยลุกไม่ไหวให้นอนหงายศีรษะสูง
ระยะหลังตรวจ: สังเกตชีพจร ความดันโลหิตต่ออีก 2-3 ชั่วโมง
3.3 การเจาะเยื่อหุ้มปอด (Pleural tapping, Thoracocentesis) เป็นการแทงเข็ม
เข้าช่องอกสู่เยื่อหุ้มปอด เพื่อดูดน้ำที่อยู่ระหว่างชั้นเยื่อหุ้มปอด
เพื่อช่วยให้การขยายตัวของปอดดีขึ้น ทำให้ผู้ป่วยหายใจสะดวกขึ้น ในผู้ป่วยที่มีลมใน ช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax) มีเลือด ในช่องเยื่อหุ้มปอด (Hemothorax) หรือมี หนองในช่องเยื่อหุ้มปอด (Empyema)
เพื่อตรวจหาแบคทีเรีย เซลล์มะเร็งหรือวิเคราะห์ส่วนประกอบทางเคมี
3.4 การตัดชิ้นเนื้อตับ (liver biopsy)
การตรวจวิธีนี้มีข้อห้ามสำหรับ
ผู้ป่วยที่ไม่ให้ความร่วมมือ
ผู้ป่วยที่มีการแข็งตัวของเลือดน้อยกว่า 50%
อาการแทรกซ้อนที่พบได้ คือ ช่องท้องอักเสบ อาการปอดแฟบเนื่องจาก มีอากาศในทรวงอก
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ
รหัสนักศึกษา 6203400086
หน้า 1