Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่13 การพยาบาลผู้ป่วย ที่มีปัญหาของ ระบบทางเดินปัสสาวะ …
บทที่13
การพยาบาลผู้ป่วย
ที่มีปัญหาของ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระยะเฉียบพลัน
และเรื้อรัง
(2)
Nephro: Non Infection
โรคทางไต ไม่ติดต่อ
ไตบาดเจ็บเฉียบพลัน
(acute renal failure)
การรักษา
อาจจะต้องแก้ไขภาวะยูรีเมียก่อน โดยการทำไดอะลัยสิสก่อน แล้วจึง แก้ไขหรือรักษาภาวะการอุดตัน
สารน้ำ เพื่อป้องกันภาวะขาดสารน้ำและ Na และสารอิเลคโตรลัยท์
ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต 50 มิลลิลิตร เข้าทางหลอดเลือดดำอย่างช้า ๆ และ
ให้กลูโคส 30 กรัมเข้าทางหลอดเลือดดำ
การป้องกัน
การประเมินหาปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วย
การให้สารน้ำเพื่อแก้ไขภาวะ pre-renal ช่วยให้
ไตฟื้นสู่สภาพ ปกต
ต้องพยายามเพิ่ม การกำซาบที่ไต
ผลกระทบ
ทำให้การขับ Na ,K กรดและน้ำลดลง
ภาวะแทรกซ้อนทางสมอง (ซึม ชัก) เนื่องจาก
ภาวะยูรีเมีย (uremia)
การตรวจร่างกาย
ผิวหนัง ผื่นคัน เพราะผู้ป่วยที่มีการคั่งของยูเรีย ครีเอทีนิน และของเสียอื่น ๆ มักจะมีอาการคันตามลำตัวหรือมีอาการบวม
หัวใจและหลอดเลือด อาจพบความดันโลหิตต่างในระยะแรกต่อมาจะมีความดันโลหิตสูงร่วมกับภาวะ arrhythmia
ทรวงอกและทางเดินหายใจ กลิ่นลมหายใจ จะมีกลิ่นยูเรีย
สาเหตุ
สาเหตุ Prerenal acute renal failure หมายถึง ความผิดปกติของการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต(พบบ่อยที่สุด), ภาวะหัวใจวายเลือดคั่ง (congestive heart failure) และโรคตับแข็ง (cirrhosis), สารพิษและยาที่มีผลต่อไต (nephrotoxins), Post renal acute renal failure จากการอุดตันทางเดินปัสสาวะ (obstructive uropathy) เช่น นิ่ว , Intrinsic acute failure หมายถึง โรคที่เกิดจากเนื้อไตเอง
ภาวะที่ไตมี การสูญเสียการทำงานอย่างรวดเร็ว ทำให้ไตไม่สามารถขจัดของเสียออกไปได้ เกิดความ ไม่สมดุล ของสารน้ำ อิเล็กโทรลัยต์และภาวะกรด-ด่างในร่างกาย ซึ่งมีผลกระทบ ต่อการทางานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
ค่าปกติ BUN คือ 7-20 mg/dL , Creatinine คือ ชาย 0.70-1.20mg/dL , ผู้หญิง 0.50-0.90 mg/dL
พยาธิสภาพ
ระยะเริ่มแรก (initial phase)
เลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง (ischemia)ระยะนี้อาจจะอยู่ประมาณ 2 –3 ชม.ถึง 2 วัน ถ้าแก้ไขได้ทันท่วงที ก็จะหยุดการดำเนินโรคระยะนี้ได้
ระยะที่มีการทำลายของเนื้อไต (maintainance)
เนื้อไตมีการอุดตันที่หลอดฝอยไตและมีเนื้อไตวาย , ปัสสาวะจะออกน้อยมาก , ค่า BUN, creatinin สูงกว่าปกติ
ระยะที่มีปัสสาวะออกมาก (Diuretic phase)
ปัสสาวะออกมากขึ้น ระดับยูเรียลดลง
ระยะที่ไตเริ่มฟื้นตัว (recovery phase)
มีการซ่อมแซมของเนื้อเยื่อไต , ค่า BUN, creatinin จะค่อย ๆ ลดลงสู่ระดับปกติ
ไตเรื้อรัง
(chronic kidney
isease)
พยาธิสภาพ
ทำหน้าที่มากขึ้น เพื่อ
รักษาภาวะสมดุลของสภาพแวดล้อมในร่างกาย
ขั้นตอนของไตเรื้อรังแบ่งออกเป็น 4 ระยะ
การทำงานของไตลดลง
ไตเสื่อมสมรรถภาพ
ไตวาย
ไตวายระยะสุดท้ายหรือยูรีเมีย
สาเหตุ
กลุ่มอาการเนฟโฟติคกลายเป็นหลอดเลือดฝอยไตอักเสบเรื้อรัง
การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ เช่น นิ่วในไต
ผลกระทบ
ความดันโลหิตสูง พบมากว่าร้อยละ 80
ภาวะน้ำและโซเดียมในร่างกายสูงมาก
เกินไป
restless leg syndrome
เกร็ดเลือดมีคุณภาพลดลง
มีผลให้ฟอสเฟตคั่งค้างในเลือดมาก ร่วมกับระดับแคลเซียมสูงขึ้นรวมตัวกันเป็นแคลเซียมฟอสเฟต
การรักษาเน้นรักษาแบบประคคับประคอง
ร่างกายจะสูญเสียสารอาหารโปรตีน
หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์แปรรูป
การกำจัดน้ำ
ยาที่ใช้บ่อย คือ ยาขับปัสสาวะ
ให้อินซุลินและกลูโคส
เป็นยาลดกรดที่
ออกฤทธิ์เฉพาะที่
อาการอาการเเสดง
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายกว่าปกติ
ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
มีการบวมของใบหน้า ท้องและหลังเท้า
การบำบัดทดแทนไต
Hemodialysis
การที่เอาเลือดออกจากร่างกาย ผสมกับเฮพารินเข้ามายังตัวกรองเลือด (dialysis) โดยไหลอยู่คนละข้างกับน้้ำ
ข้อบ่งชี้ในการทำ HD
ภาวะน้ำเกินน้ำท่วมปอดไม่ตอบสนองต่อ diuretic drug
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนตลอดเวลา
peritoneal dialysis
CAPD หมายถึง การล้างไตวิธีหนึ่ง ที่อาศัยผนังเยื่อบุช่องท้อง
ข้อบ่งชี้
Uremic symptoms ได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน
Fluid overload ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
ข้อห้ามในการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
มีภาวะที่ขัดขวางการไหลของน้ำยาล้างไต
มีการติดเชื้อที่ผิวหนังทางหน้าท้องทางช่องท้อง
ภาวะเเทรกซ้อน ปวดท้องช่วงที่ปล่อยน้ำยาเข้า และ น้ำยาล้างไตมีเลือดปน
การพยาบาลก่อนทำCAPD
ประเมินการล้างมือของผู้ป่วย
ยึดหลักเทคนิคปราศจากเชื้อในการเปลี่ยนขวดแต่ละรอบ
สังเกตลักษณะของน้ำยาไดอะลัยส์ที่ออกจากช่องที่ออกจากช่องท้องผู้ป่วย
คำเเนะนำในการดูแล
AVF และ AVG
ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำยกแขนสูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อลดอาการบวม
ไม่สวมเครื่องประดับรัดบนเส้นเลือด เช่นกำไล นาฬิกาหรือเสื้อรัด
สังเกตอาการผิดปกติหลังการผ่าตัด ได้แก่ ติดเชื้อ
ควรคลำเส้นเลือดที่ใช้ฟอกเลือดบ่อยๆ
การบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง
ทำให้ปริมาณน้ำเกลือแร่ และภาวะกรดด่างไม่เปลี่ยนแปลง ขึ้นลง
ขจัดของเสียที่มีโมเล
กุลกลางและใหญ่ๆได้
การผ่าตัดปลูกถ่ายไต
เป็นวิธีการรักษาวิธีหนึ่งสำหรับผู้ป่วย ไตล้มเหลวเรื้อรังระยะสุดท้าย
การพยาบาลก่อนทำ เตรียมผู้ป่วย โดยการให้ข้อมูลเกี่ยวกับผ่าตัดปลูกถ่าย
ไต ข้อดี - ข้อเสียในการรักษา
การพยาบาลหลังผ่าตัด
1.สังเกตอาการและอาการเปลี่ยนแปลง วัดสัญญาณชีพ
2.ดูแลการได้รับสารน้ำและอิเลคโตรลัยส์
โรคของระบบอวัยวะสืบพันธ์เพศชาย
Male reproductive disorders
ต่อมลูกหมากโต
(Benign prostatic
hypertrophy: BPH)
ต่อมลูกหมากเป็นส่วนหนึ่งของอวัยวะเพศชาย มี 5 กลีบ ทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยหล่อลื่นสเปอร์มและช่วยนำพาตัวสเปอร์มออกสู่ภายนอกระหว่างร่วมเพศ
สาเหตุ =ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด มีส่วนเกี่ยวข้องกับความไม่สมดุลระหว่างฮอร์โมนแอนโดรเจน กับเอสโตรเจนในผู้สูงอายุ
อาการ= ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะขัด ปัสสาวะอ่อน-ไม่พุ่ง
การตรวจ =ทางทวารหนัก, ตรวจด้วยเครื่องมือส่องดูภายใน, ตรวจทางรังสี, ตรวจเลือดหาค่า BUN, Cr, ตรวจหาสาร PSA
การรักษา= งดดื่มแอลกอฮอล์, กินยา, รักษาด้วยความร้อน, รักษาด้วยการผ่าตัดด้วยการส่องกล้อง เพื่อตัดเอาชิ้นเนื้อส่วนที่เกินออกมาจากต่อมลูกหมาก (TURP)
มะเร็งต่อมลุกหมาก
(prostate cancer)
สาเหตุ =อายุ, ประวัติครอบครัว, เชื้อชาติ, อาหาร, การสูบบุหรี่
อาการ= ปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะเวลากลางคืน, ปัสสาวะจะลำบาก, ปัสสาวะปวด, มีเลือดในน้ำเชื้อหรือปัสสาวะ, อวัยวะเพศแข็งตัวยาก
การวินิจฉัยโรค= Transrectal ultrasonography การทำ ultrasound ต่อมลูกหมากทางทวารหนัก, Intravenous pyelography คือ การฉีดสีเข้าหลอดเลือดดาเพื่อให้สีขับออกทางไตไปกระเพาะปัสสาวะ, Cystoscope แพทย์จะส่องกล้องเข้าทางท่อปัสสาวะ, การตรวจต่อมลูกหมากทางทวารหนัก, การตรวจหา PSA
การรักษา= ตัดต่อมลูกหมากโดยการส่องกล้องผ่านอวัยวะเพศเป็นการตัดชิ้นเนื้อเพื่อให้ปัสสาวะไหลคล่อง (TURP), ผ่าตัดทางหน้าท้อง, ผ่าตัดผ่านทางผิวหนังบริเวณอัณฑะ, การให้รังสี, รักษาด้วยฮอร์โมน, ฆ่าเซลล์มะเร็งโดยการให้สารเคมี
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี UDA6280003