Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเก็บสิ่งส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ, นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ รหัสนักศึกษา…
การเก็บสิ่งส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ
ข้อควรระวังในการเจาะเลือด จากเส้นเลือดดำ
ถ้ารอบๆ ตำแหน่งที่ถูกเจาะมีลักษณะบวม ควรรีบปลดสายยางรัดแขนทันที พร้อมทั้งดึงเข็มออก และใช้สำลีแห้งกดบริเวณรอยเจาะเลือดนั้น
การเจาะเลือดเด็กเล็กควรรีบปลดยางรัดแขนเจาะเลือดทันทีที่เลือดเริ่มเข้า
กระบอกฉีดยา เพราะหลอดเลือดดำของเด็กมีขนาดเล็กและแฟบ (collapse) เร็ว เนื่องจากเลือดไหลเข้าหลอดเลือดช้ากว่าที่ถูกดูดออก
Hemolysis
Air embolism
ผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกผิดปกติ มีโอกาสเกิดจาเลือดได้มาก
ให้กดตรงรอยเจาะนานประมาณ 5 นาที และปิดพลาสเตอร์เมื่อเลือดหยุดไหลแล้ว
Intravenous therapy ไม่ควรเจาะเลือดจากแขนที่ให้น้ำเกลือ ถ้าไม่มีทางเลือก
ควรเจาะเลือดในบรเวณที่ต่ำกว่าบริเวณที่ให้น้ำเกลือ โดยหยุดการให้น้ำเกลือ 2 นาที
ก่อนที่จะเจาะเลือด ห้ามเจาะเลือดแขนที่มี AV shunt
หลีกเลี่ยงการเจาะเลือดบริเวณผิวหนังที่มีรอยไหม้ มีรอยช้ำ และ แผลเป็น
อาการแทรกซ้อนที่เกิดจาก การเจาะเลือด
Ecchymosis
Petechiae
Syncope
Allergies
3.การเจาะเลือดจากหลอดเลือดแดง (arterial puncture)
การเจาะเลือดโดยการแทงเข็มเข้าไปในหลอดเลือดแดง เจาะ
โดยแพทย์เท่านั้น เนื่องจากเลือดหยุดยาก นิยมเจาะที่บริเวณข้อมือและ ขาหนีบ นำไปใช้หาค่า blood gas
การวิเคราะห์ complete blood count (CBC)
Red blood count (RBC)
White blood cell count (WBC)
Differential white cell count (Diff)
RBC (Red blood cell)
HCT (Hematocrit)
HGB (Hemoglobin)
ต่ำ เกิดจาก เลือดออก ขาดเหล็ก วิตามินบี 12 ยาพวก chloramphenicol, Bone marrow failure (leukemia) CA และ Sepsis
สูง เกิดจาก Dehydration, Severe diarrhea
White Blood Cell (WBC)
ค่าปกติ 5,000-10,000 /cu.mm.
ภาวะ Leukocytosis (การเพิ่มของ WBC มากกว่า 10,000 cu.mm.)
สาเหตุ
มีการติดเชื้อ
Leukemia
เลือดออก
การได้รับบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อ โดยเฉพาะ การผ่าตัด
Malignant disease
ภาวะ Leukopenia
การลดลงของ WBC ต่ำกว่า 4,000 cu.mm.
viral infection
Bone marrow depression
Radiation
Acute leukemia
Alcoholism
Diabetes
หน้าที่ของเซลล์
Neutrophils = Bacterial infection, การอักเสบ, stress, ยาบางชนิด
Eosinophil = Allergy disorder และพยาธิ
Basophils = Blood dyscrasia
Lymphocytes = Viral infection, infection disease
Monocytes = Severe infection
การเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อ (Hemoculture)
วัตถุประสงค์
เพาะเลี้ยงเชื้อและดูความไวของเชื้อโรคต่อยาต้านจุลชีพ
เพื่อ การรักษาโรคติดเชื้อที่อยู่ในเลือดให้ถูกต้องกับชนิดของยา และเชื้อที่เพาะได้
อุปกรณ์
น้ำยาฆ่าเชื้อโพวิโดน-ไอโอดีน (povidone-iodine) หรือ น้ำยาฆ่าเชื้อตามแต่ละสถาบันกำหนด
แอลกอฮอล์ 70 % กระบอกฉีดยา 5 มล จำนวน 3 อัน
เข็มฉีดยาเบอร์ 21 จานวน 6 อัน
ขวดซึ่งใส่อาหารเลี้ยงเชื้อไว้ตามจำนวนที่แพทย์สั่ง
โดยมากมักนิยมใช้ 3 ขวด
ถุงมือสะอาด
ใบส่งตรวจที่บันทึกข้อมูลให้ครบและถูกต้อง โดยระบุ เวลาที่เจาะเก็บเลือดลงแต่ละขวด
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ
รหัสนักศึกษา 6203400086
หน้า 2