Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลในระยะสุดท้ายของชีวิต - Coggle Diagram
การดูแลในระยะสุดท้ายของชีวิต
รูปแบบการบริการดูแลผู้สูงอายุระยะสุดท้าย
แนวทางการดูแลสุขภาพระยะยาว
กลุ่มที่ 1 ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ช่วยเหลือตนเองได้แต่ให้ติดตาม
เช่น ผู้ป่วยหลังคลอด
กลุ่มที่ 2 ผู้ป่วยติดบ้าน คือกลุ่มที่มีการดำเนิดของโรค มีข้อจำกัด ช่วยเหลือตนเองได้ไม่เต็มที่ ต้องการผู้ดูแล ช่วยเหลือในการทำกิจกรรมบางส่วน
กลุ่มที่ 3 ผู้ป่วยติดเตียง คือกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง หมายถึง ผู้ป่วยที่มี ADL Barthel Index ตั้งแต่ 4/20 ลงมา และจำกัดความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง จำเป็นต้องมีผู้ดูแลช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวัน
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิตเป็นกลุ่มที่ป่วยด้วยโรค ไม่อาจรักษาให้หายขาดได้ มีชีวิตอยู่ไม่นาน
การดูแลสุขภาพที่บ้าน ดูแลสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการส่งกลับไปดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การบริการผู้ป่วยในที่บ้าน สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการส่งกลับไปดูแลต่อที่บ้าน โดยจัดให้เตียงผู้ป่วยที่บ้าน เสมือนเตียงของโรงพยาบาล มีการวางแผน ติดตามและเมินผลการดูแล
การบริการผู้ป่วยในระยะฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยในระยะกึ่งเฉียบพลัน ที่มีการส่งต่อผู้ป่วยที่รักษาจนปลอดภัยแล้ว เพื่อไปรับการฟื้นฟูสภาพต่อที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยระยะยาว
ขั้นตอนที่ 1 การจัดกลุ่มผู้ป่วย ด้วย Barthel Index จัดกลุ่มว่าอยู่ในกลุ่มใด ถ้าเป็นกลุ่ม 3 จะเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของศูนย์ LTC ส่วนศูนย์ COC จะรับผิดชอบในกลุ่ม 1 และกลุ่ม 2
ขั้นตอนที่ 2 การส่งต่อข้อมูลผู้ป่วย หลังจากประเมินเข้าใน 3 กลุ่มแล้ว บันทึกข้อมูลเข้าโปรแกรม COCR9 เพื่อส่งข้อมูลผู้ป่วยในหน่วยบริการในพื้นที่
ขั้นตอนที่ 3 การเข้าถึงผู้ป่วย ทีมหมอครอบครัว จะเป็นผู้เข้่ไปดูแลผู้ป่วยในพื้นที่ โดย LTC center เป็นผู้สนับสนุน
การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุระยะม้ายใกล้ตาย(ผู้ป่วยระยะสุดท้าย)
บทบาทหน้าที่ของผู้ดูแลผู้สูงอายุระยะสุดท้าย
ความมุ่งหายในการดูแลรักษาจะมุ่งเน้นคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และความรู้สุขของผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยเป็นสำคัญ
การดูแลประคับ ประคองจิตใจญาติผู้ป่วย
ดู้แลผู้ป่วยและครอบครัว
ประเมินผู้ป่วยอย่างถี่ถ้วนและรอบด้าน มุ่งลดความทุกข์ทรมานทั้งจากอาการทางกาย ทางจิตใจ
พยายามดูแลให้ผู้ป่วยถึงวาระสุดท้ายอย่างเป็นธรรมชาติ ไม่เร่งการเสียชีวิต ไม่ยืดการเสียชีวิต
การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยสูงอายุเสียชิวิต
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามความเชื่อทางศาสนา