Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจพิเศษ - Coggle Diagram
การตรวจพิเศษ
-
การตรวจที่พบบ่อย
- การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
เพื่อดูการเต้นของหัวใจ
- V3 อยู่กึ่งกลางระหว่าง V2 และV4
- V4 ช่องซี่โครงที่ 5 แนวกึ่งกลาง clavicle ข้างซ้าย
- V2 ช่องซี่โครงที่ 4 ขอบซ้ายของ กระดูก sternum
- V5 ระดับเดียวกับ V4 แนว anterior axillary line
- V1 ช่องซี่โครงที่ 4 ขอบขวาของ กระดูก sternum
- V6 ระดับเดียวกับ V4 แนว mid- axillary line
- เพื่อตรวจดูความผิดปกติของเนื้อสมอง โดยเฉพาะผู้ที่มีประวัติชักมาก่อน
- การตรวจเกี่ยวกับการใช้สารรงัสีและสารทึบรังสี
ระยะก่อนตรวจ
-
- งดอาหารอย่างน้อย 6 ชั่วโมง
ระยะตรวจ
- ให้ผู้ป่วยกลืนแป้งแบเรียม
-
ระยะหลังตรวจ
- รับประทานอาหารและกระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
-
- ตรวจระบบทางเดินอาหารส่วนล่าง
- เป็นการสวนแบเรียมเข้าไปในลำไส้ใหญ่แล้ว ถ่ายภาพเอ็กซ์เรย์เพื่อดูผนังลำไส้ว่ามีบาดแผล มีการอักเสบหรืออุดตันหรือไม่
- ตรวจกรวยไตด้วยการฉีดสารทึบรังสีเข้าทางหลอดเลือดดำ
- เพื่อดูขอบเขต ขนาด รูปร่างและหน้าที่ของไต
- ตรวจที่เกี่ยวกับการเจาะหรือตัดชิ้นเนื้อ
- การเจาะหลัง เอาน้ำไขสันหลังมาตรวจดูลักษณะ เซลล์และชนิดของชิ้นเนื้อ หรือวัดความดันของน้ำไขสันหลัง
- การเจาะท้อง เป็นการดูดน้ำออกจากช่องท้อง เพื่อนำไปวินิจฉัยและการรักษา
-
- ตัดชิ้นเนื้อตับ เป็นการใช้เข็มชนิดพิเศษเจาะตับ
ข้อห้าม
- ผู้ป่วยที่ไม่ให้ความร่วมมือ
- ผู้ป่วยที่มีการแข็งตัวของเลือดน้อยกว่า 50%
- มีเกล็ดเลือดน้อยกว่า 80,000 ถึง 100,000 เซลล์ต่อตารางมิลลิเมตร
- ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในปอดส่วนล่าง
-
-
- การตรวจที่เกี่ยวกับการใช้กล้องส่องเข้าไปดูอวัยวะภายใน
- ใส่กล้องเข้าไปตามรูเปิดของร่างกาย
-
- ตรวจดูลักษณะลำไส้ใหญ่จากทวารหนักจนถึงลำไส้ ใหญ่ส่วนต้น
การตรวจพิเศษอื่นๆ
ระยะตรวจ
- จัดให้ผู้ป่วยนอนหงาย อวัยวะที่ตรวจอยู่ภายใต้เครื่องสแกน
-
การเตรียมผู้ป่วย
- ระหว่างตรวจหากมีปัญหาขดัข้องให้บอกผู้ตรวจ
-
- บอกให้ผู้ป่วยทราบว่าขณะเครื่องกำลังทำงาน
- งดการนำสิ่งของทเี่ป็นโลหะเข้าไปในขณะตรวจ
ระยะก่อนตรวจ
- อาจให้สวนอุจจาระหรือให้ยาขับลม
- กรณีที่เป็นการตรวจทางสตูินรีเวชกรรมแนะนำให้กลั้นปัสสาวะไว้จนกว่าจะตรวจเสร็จ
- อธิบายวิธีการตรวจ ระยะเวลาที่ใช้ประมาณ 20-45 นาที
- ดูแลให้ผู้ป่วยลุกไปถ่ายปัสสาวะได้สะดวก