Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูง (Hypertension) - Coggle Diagram
ความดันโลหิตสูง
(Hypertension)
ความหมาย
ระดับความดันโลหิตซิสโตลิก (systolic blood pressure,SBP) >140มม.ปรอท
ความดันโลหิตไดแอสโตลิก(diastolicbloodpressure, DBP) > 90 มม.ปรอท
ระดับความดันโลหิต
Optimal
SBP < 120 mmHg
DBP < 90 mmHg.
Normal
SBP 90 - 120 mmHg.
DBP 60 - 90 mmHg
High Normal
SBP 130 - 139 mmHg
DBP 85 - 89 mmHg
Grade: 1 Mild hypertension
SBP 140-159 mmHg
DBP 90-99 mmHg
Grade 2 :Moderate Hypertension
SBP 160 - 179mmHg
DBP 100 - 109 mmHg
Grade 3: severe hypertension
SBP >= 180 mmHg
DBP >= 110 mmHg
Isolated systolic hypertension (ISH)
SBP > =140 mmHg
DBP <= 90 mmHg
ชนิดของความดันโลหิตสูง
ชนิด ไม่พบสาเหตุ
พบได้ ประมาณร้อยละ50 ซึ่งเป็นความดันโลหิต
ที่ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด โดยท่ัวไปมักไม่มีอาการผิดปกติ
ชนิดท่ีมีสาเหตุ
เป็นความดันโลหิตสูงที่ทราบสาเหตุ พบได้ ประมาณร้อยละ 50 โดยสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ภาวะหยุดหายใจ ขณะนอนหลับ (Obstructive sleep apnea) พบได้ถึงร้อยละ 50
สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่จะไม่มีสาเหตุ การควบคุมระดับ ความดันโลหิตได้ดีจะสามารถช่วยลดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตจากโรคระบบหัวใจ และหลอดเลือดลงได้
ปัจจัยเสี่ยงที่ทําให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง
✅✅
การนอนกรน
เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูงที่พบได้บ่อยที่สุด ประมาณร้อยละ 50 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่ทราบสาเหตุ
พันธุกรรม
อายุท่ีมากขึ้น
ผู้ที่มีรูปร่างอ้วน
การขาดการออกกําลังกาย
ผู้ท่ีมีโรคเบาหวาน
เวลา ความดันโลหิตไม่เท่ากันตลอดวัน
เช่น ในตอนเช้า ความดันซิสโตลิกต่ำกว่าตอนช่วงบ่าย
เพศ พบว่าเพศชายจะเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้บ่อยกว่า เพศหญิง
ความเครียด
ผู้ที่ชอบรับประทานอาหารเค็ม
การสูบบุหรี่
การประเมินผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ประวัติเก่ียวกับภาวะความดันโลหิตสูงท่ีเป็น
ประวัติของโรคต่างๆ ที่พบในครอบครัว
ปัจจัยเสี่ยงที่มีซึ่งต้องนำมาใช้ในการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในตัวผู้ป่วย เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา
อาการที่บ่งชี้ว่ามีการทําาลายของอวัยวะต่างๆ แล้ว เช่น อาการใจสั่น เหนื่อยง่าย เจ็บแน่นหน้าอก อาการชาหรืออ่อนแรงของแขนขาชั่วคราวหรือถาวร ปวดศรีษะ เวียนศรีษะ หิวน้ำบ่อย ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน บวมที่เท้า เวลาบ่ายหรือเย็น ปวดขาเวลาเดินทําให้ต้องพักจึงจะเดินต่อได้
อาการที่บ่งชี้ว่าเป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่มีสาเหตุ เช่น ระดับความดันโลหิตขึ้นๆ ลงๆ ร่วมกับอาการปวดศรีษะใจสั่น เหงื่อออกเป็นพักๆ ซึ่งอาจเป็น phaeochromocytoma ต้นแขนและ ต้นขาอ่อนแรงเป็นพักๆ อาจเป็น primary aldosteronism, ปวดหลัง 2 ข้างร่วมกับปัสสาวะผิดปกติ อาจเป็น renal stone หรือ pyelonephritis ประวัติการใช้ยา เช่น ยาคุมกําเริด cocaine amphetamine NSAIDS steroid ยาลดน้ำมูก เป็นต้น
ประวัติส่วนตัว ครอบครัวและปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ ซึ่งอาจมีผลต่อความดันโลหิต ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รวบทั้งการควบคุมระดับความดันโลหิตและผล จากการรักษาด้วย
การรักษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Lifestyle modification)
การใช้ยาลดความดันโลหิต
กลุ่มยา ดังนี้
2.1 Diuretics
2.2 Adrenergic inhibitors; เช่น Beta-blocker, anti-adrenergic agent,
alpha-1 blocker
2.3 Angiotensin coverting enzyme (ACE) inhibitors (ACE-I)
2.4 Angiotensin II receptor blocker (ARB)
2.5 Calcium channel blocker (CCB) (antagonists)
2.6 Direct vasodilators
ภาวะแทรกซ้อน
สมอง มักเกิดจากภาวะหลอดเลือดในสมองตีบหรือแตก เนื่องจากการมีความดัน โลหิตสูงเป็นเวลานานจะส่งผลให้ผนังหลอดเลือดในสมองหนาและแข็งตัวเกิดการตีบจนอุดตันเน้ือ สมองจะถูกทาลายเนื่องจากการขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง
ตา มักเกิดภาวะจอประสาทตาเสื่อม เนื่องจากความดันโลหิตที่สูงจะส่งผลให้หลอด เลือดแดงภายในลูกตาเกิดการหนาตัวโดยในระยะแรกจะตีบ เกิดความดันในหลอดเลือดภายในลูกตา เพิ่มข้ึนจากนั้นจะแตกออกทำให้มีเลือดออกบริเวณจอตาเกิดการเสื่อมของจอประสาทตาส่งผลให้ เกิดอาการตามัวลงจนตาบอดได้
ไต ส่งผลให้หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงไตมีผนังหนา เกิดการแข็งและตีบ ทาให้เลือด ไปเลี้ยงไตได้ไม่พอ อีกท้ังเกิดการแข็งตัวของหลอดเลือดฝอยตรงบริเวณหน่วยไต (glomerular capillary)ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของอัตราการกรองไตโดยทาให้อัตราการกรองท่ีไตหรือ สมรรถภาพในการกรองของเสียที่ไตบกพร่องไป (glomerular filtration rate tubular dysfunction) และ มีการทาลายหน่วยไตทาใหค้ วามสามารถในการกาจดั ของเสียลดลงของเสียที่เป็นสารพิษจะคั่ง ร่างกายหากมีปริมาณมากเช่นสารยูเรียจะทำให้หมดสติเกิดภาวะโลหิตเป็นพิษไตวายและเสียชีวิต ได้
หัวใจภาวะที่มีความดันโลหิตสูงนานๆ จะส่งผลให้หัวใจบีบตวั แรงข้ึนเพื่อต่อต้าน ความดนะโลหิตที่เพิ่มสูงข้ึน กล้ามเน้ือหัวใจก็จะปรับตัวโดยการเพิ่มความหนาของผนังกล้ามเน้ือหัวใจ เนื่องจากต้องสูบฉีดเลือดต้านกับความดันโลหิตที่สูง เมื่อผนังกล้ามเน้ือหัวใจหนาตัวขึ้น การทำงาน ของหัวใจในแต่ละห้องก็จะเสื่อมลง เกิดการยืดขยายของกล่ามมเน้ือหัวใจเพิ่มข้ึนจนไม่สามารถยืดขยาย ได้
หลอดเลือด ภาวะความดันโลหิตที่สูง จะส่งผลให้ผนังหลอดเลือดเกิดการหนาตัวผนงั หลอดเลือดด้านในจะไม่เรียบ หากมีไขมันไปเกาะภายในผนังหลอดเลือด จะส่งผลให้เกิดการแข็งตัว
อาการ
ปวดศีรษะ
มึนงง
คลื่นไส้ อาเจียน
เหนื่อยง่าย
หน้ามืด เป็นลม