Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การศึกษาที่อิงมาตรฐานกับการพัฒนาหลักสูตรอิงมาตรฐาน :pencil2:,…
บทที่ 5 การศึกษาที่อิงมาตรฐานกับการพัฒนาหลักสูตรอิงมาตรฐาน
:pencil2:
ครูกับการพัฒนา
บทบาทครูกับผู้พัฒนาหลักสูตร
กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นผู้กำหนด
หลักสูตรแกนกลาง สถานศึกษาต้องจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษาผู้สอนจะต้องสร้าง
และพัฒนาหลักสูตรรายวิชาการศึกษาและการเรียนรู้
บทบาทครูกับแนวการจัดการศึกษา
ครูต้องยึดหลักการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สุดผู้เรียนทุกคนมีความสามารถที่จะเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ
การจัดการศึกษาที่อิงมาตรฐาน
เป็นระบบการศึกษาที่เน้นว่าผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้และเน้นให้ผู้เรียนมีสัมฤทธิ์ผลตามมาตรฐานด้านเนื้อหา
และมาตรฐานความสามารถที่กำหนดการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนมีความเชื่อมโยงกับมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรอิงมาตรฐาน
การจัดหน่วยการเรียนรู้
การเขียนหน่วยการเรียนรู้ทำได้หลายรูปแบบส่วนใหญ่ประกอบด้วยดังต่อไปนี้
-ชื่อหน่วยการเรียนรู้
-วิธีการเรียน
-แนวคิด
-เป้าหมาย
-กิจกรรมของผุ้เรียน/ผุู้สอน
-การประเมินผล
การออกแบบรายวิชา
ขั้นตอนการออกแบบรายวิชาประกอบด้วย 11 ขั้นดังนี้
1) ผุ้สอนต้องรู้ว่าผู้เรียนคือใคร
2) บริบทของหลักสุตรเป็นอย่างไร
3) บริบทของสถานศึกษาเป็นอย่างไร
4) มีการวางเงื่อนไขและข้อบังคับอย่างไร
5) กำหนดจุดประสงค์และผลการเรียนรู้
6) กำนดวิธีการจัดการเรียนรูู้
7) กำหนดวิธีการวัดผล
8) กำหนดเนื้อหา
9) กำหนดวิธีการส่งเสริมการเรียนรู้
10) การวางแผนเพื่อจัดให้มีการนำเสนอ
11) การเขียนแผนการปฏิบัติการ
การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรอิงมาตรฐาน
ยึดการบรรยายความสามารถในการปฏิบัติตัวอย่างงาน
ให้ข้อมูลนักเรียนในสิ่งที่นักเรียนปฏิบัติ
มีการวัดผลประกอบในการจัดกิจกรรม
ให้ข้อมูลที่แสดงการบรรลุตามมาตรฐานไปสู่นักเรียน
อธิบายความสามารถที่คาดหวังได้
ให้ข้อมูลในการปรับปรุงหลักสูตร
เชื่อมโยงกับมาตรฐานโดยตรง
การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรอิงมาตรฐาน
หลักสำคัญ ในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรอิงมาตรฐานคือการมอบหมายงานปฏิบัติหน้าที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงและการจัดหน่วยการเรียนรู้ที่แสดงถึงการบูรณาการตามเนื้อหาที่กำหนด
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรอิงมาตรฐาน
มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
กำหนดมาตรฐานในวิชา
กำหนดวัตถุประสงค์
สร้างขอบข่ายและลำดับการเรียนรู้
ระบุวิธีการประเมินผล
พัฒนาวิธีการเรียนการสอน
เขียนมาตรฐาน/วัตถุประสงค์/การประเมิน/วิธีการสอน
ทดลองนำร่องการใช้หลักสูตร
บูรณาการความต้องการของโรงเรียนให้เข้ากับแผน
จัดทำแผนการสอนและหน่วยการเรียนรู้
ปรับปรุงและยอมรับหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรอิงมาตรฐาน
ประกอบด้วย 4 ส่วนที่สำคัญ ดังนี้
1) องค์ความรู้ของกลุ่มวิชา
2) มาตรฐานของกลุ่มวิชาผู้เรียนสำเร็จการศึกษา
3) มาตรฐานของกลุ่มวิชาเมื่อผู้เรียนจบแต่ละช่วงชั้น
4) มาตรฐานความสามารถ
ความหมายของหลักสูตรอิงมาตรฐาน
เป็นหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นโดยมีมาตรฐานเป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ การเรียนการสอนและการเรียนรู้ซึ่งเชื่อมโยงกับมาตรฐานที่กำหนดไว้เป็นหลัก