Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิต,…
บทที่2
แนวคิด ทฤษฎี และหลักการที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิต
Nursing theory
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล(Interpersonal Relation Theory)ของ Hildegard E. Peplau
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด มีลักษณะสำคัญดังนี้
การเข้าถึงความรู้สึกหรือเข้าใจตามการรับรู้ของผู้รับบริการ (Empathy)
การที่พยาบาลเข้าใจความรู้สึกของผู้รับบริการเหมือนกับที่ผู้รับบริการรู้สึก
เหมือนกับความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับตนเอง แต่ต้องแยกตนเองไว้ต่างหาก
ความเข้าใจตนเองอย่างดีจะช่วยให้เกิดความตระหนักในความเป็นผู้อื่นได้อย่างแท้จริง
มีการติดต่อสื่อสารที่มีจุดประสงค์ (Purposeful communication)
เน้นการ
ปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง
พัฒนา
ส่งเสริม
ป้องกันปัญหา
มีการถ่ายโอนความรู้สึก (Transference)
อาจเป็นทั้งความรู้สึกทั้งด้านบวกและด้านลบ ที่ถ่ายโอนมายังพยาบาลจากความใกล้ชิด
รู้สึกว่าพยาบาลเป็นเหมือนคนสำคัญของตนเองในด้านต่าง ๆ
อาจทำให้ผู้รับบริการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา
การกำหนดหรือตั้งเป้าหมายชัดเจน (Goal Formulation)
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัดจะต้องมีการตั้งเป้าหมาย
ปฏิบัติให้บรรลุตามที่ตั้งไว้
การมีอารมณ์ขัน (Humor)
เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียดในบางสถานการณ์
ที่ทั้งพยาบาลและผู้รับบริการกำลังเผชิญอยู่
การมองในแง่ดีและการยอมรับโดยปราศจากเงื่อนไข (Unconditional Positive Regard and Acceptance)
พยาบาลต้องมีความเต็มใจที่จะเข้าใกล้ผู้รับบริการ และพยายามมองในแง่ดี ไม่ตัดสิน
มีความเชื่อในคุณค่า ศักดิ์ศรี และความสำคัญของความเป็นบุคคล
การสร้างความไว้วางใจ (Trust)
โดยไม่เคลือบแคลงว่าจะเกิดอะไรขึ้น
เป็นความรู้สึกเชื่อมั่นอย่างจริงใจที่บุคคลหนึ่งมีต่ออีกบุคคลหนึ่ง
พยาบาลจะต้องมีความสม่ำเสมอและจริงใจ เพราะจะช่วให้ผู้รับบริการค่อย ๆ สร้างความเชื่อถือในตัวพยาบาล
การเข้ากันได้ (Rapport)
พยาบาลจะต้องเข้ากันได้กับผู้รับบริการอย่างกลมกลืน
ซึ่งความรู้สึกเข้ากันได้จะต้องมีตั้งแต่แรกเริ่มของสัมพันธภาพ
สร้างความรู้สึกให้ผู้รับบริการผ่อนคลาย
ปฏิบัติกับผู้รับบริการในฐานะมนุษย์เท่าเทียมกัน
บุคคล (Person)
ซึ่งแสดงออกซึ่งพฤติกรรมทั้งด้วยคำพูดและท่าทางที่บอกถึงความต้องการเฉพาะตัว
ยังต้องการความช่วยเหลือให้แก้ปัญหา
สิ่งแวดล้อม (Environment)
จะกำหนดด้วย สถานการณ์ที่มีพยาบาลและผู้รับบริการ
ระบบการพยาบาลไม่ได้เจาะจงสิ่งแวดล้อมในด้านผู้ป่วย
สุขภาพ (Health)
เป็นความรู้สึกสบาย เพียงพอ และมีสุขอิสระจากความไม่สุขสบายกายและใจ
การพยาบาล (Nursing)
เป็นสถานการณ์เกิดจากการที่ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาหรือเสี่ยงต่อการเกิดปัญหา
เป็นการใช้กระบวนการลดความไม่สุขสบายหรือภาวะหมดทางช่วยเหลือ
โดยพยาบาลมีปฏิสัมพันธ์กับผู้รับบริการและให้การช่วยเหลือลดความไม่สุขสบาย
การปฏิบัติที่ทำให้เกิดความสอดคล้องระหว่างพฤติกรรม ของผู้รับบริการ
ทฤษฎีทางการพยาบาลของคิงทฤษฎีกระบวนการปฏิสัมพันธ์ (King’s Theory)
2) สุขภาพ (Health)
ความเจ็บป่วยอาจมีผลกระทบต่อบุคคลในทุกกลุ่มอายุและทุกระดับ
ภาวะสุขภาพสัมพันธ์กับวีถีทางเเต่ละคน ในการเผชิญความเครียด
อยู่ภายใต้แบบแผนทางวัฒนธรรม ที่กำเนิดเเละธรรมรงชีวิตอยู่
3) การพยาบาล (Nursing)
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างการพยาบาลกับผู้รับบริการที่มีการไม่แลกเปลี่ยนการรับรู้ข้อมูลซึ่งกันและกัน ผ่านกระบวนการสื่อสาร
โดยมีการกำหนดปัญหา เป้าหมายร่วมกันเเละเลือกวิธีปฏิบัติไปสู่เป้าหมายนั้น
ระบบ
1) ระบบของบุคคล (personal system)
พยาบาล และผู้รับบริการจะมีระบบส่วนตัว หรือแบบแผนเฉพาะตนเอง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะรอบตัว ก็จะปรับเปลี่ยนแบบแผนของตนเอง
การรับรู้ (perception)
อัตตา (self)
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ (growth and development)
ภาพลักษณ์ (image)
เทศะ (space)
กาละ (time)
2) ระบบระหว่างบุคคล (interpersonal system)
บุคคล2คนขึ้นไปหรือกลุ่มมีปฏิสัมพันธ์กับพยาบาล ได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นผู้ช่วยลด ปัจจัยที่ก่อให้เกิด ความเครียดสําหรับผูเรับบริการและครอบครัว
ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ (human interaction)
การสื่อสาร (communication)
ความเครียด (stress)
ปฏิสัมพันธ์ที่มีเป้าหมาย (transaction)
บทบาท (role)
เจริญเติบโตและพัฒนาการ (growth and development)
ภาพลักษณ์(image)
เทศะ (space)
กาละ (time)
ระบบสังคม (social system)
บทบาทของสังคมพฤติกรรมและการปฏิบัติที่สร้างขึ้นเพื่อรักษาคุณค่าและกลไก สําหรับควบคุมการปฏิบัติ
กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาล มโน ทัศน์ที่เกี่ยวข้อง
องค์การ (organization)
อํานาจหน้าที่ (authority)
สถานภาพ (status)
อํานาจ (power)
การตัดสินใจ (decision making)
1) บุคคล (Person)
เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
เป็นผู้ที่มีเหตุผลและความรู้สึกนึกคิด
มีภาษาซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำหรับใช้ในการสื่อสาร
มีการใช้ความคิด
มีการกระทำ
มีขนบธรรมเนียมประเพณี และความเชื่อ
บุคคลจะแสดงความสามารถในการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ รวมทั้งมีการตัดสินใจ
สิ่งแวดล้อม (Environment)
ประกอบด้วย
สิ่งแวดล้อมภายใน
สิ่งแวดล้อมภายนอก
บุคคลจะมีการแลกเปลี่ยนพลังงานกับสิ่งแวดล้อมภายนอกตลอดเวลา
เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
พยาบาลจัดเป็นสิ่งแวดล้อมของผู้รับบริการด้วย
ทฤษฎีความสําเร็จตามจุดมุ่งหมาย
กระบวนการ
การตั้งเป้าหมายและกำหนดจุดมุ่งหมายที่เป็นไปได้ร่วมกันของพยาบาลและ ผู้รับบริการ
การค้นหาแนวทางปฏิบัติ
สิ่งรบกวนหรือปัญหา ซึ่งทำให้ผู้รับบริการต้องมาโรงพยาบาล
การตอบสนองของผู้รับบริการต่อสิ่งรบกวน
การตกลงร่วมกันถึงวิธีปฏิบัติ ที่ต้องมีความเห็นพ้องต้องกันและยอมรับในวิธี การปฏิบัติ
พฤติกรรมของผู้รับบริการ
การบรรลุเป้าหมายของการปฏิสัมพันธ์ เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกในขั้นสุดท้าย ซึ่งแสดงให้เห็นว่า จุดมุ่งหมายนั้นสำเร็จตามที่ตั้งเอาไว้
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย(Roy’s Adaptation Theory)
การปรับตัวด้านร่างกาย(Physiology Mode)
รักษาความมั่นคงด้านร่างกาย
ตอบสนองความต้องการของบุคคล 5ด้าน
ความต้องการออกซิเจน
อาหาร
การขับถ่าย
กิจกรรม
การพักผ่อน
ระบบต่างๆในร่างกาย
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์(Self-concept mode)
ความมั่นคงด้านจิตใจ
เป็นความเชื่อและความรู้สึกที่บุคคลยึดถือเกี่ยวกับตนเองในช่วงเวลาหนึ่ง รวมไปถึง ค่านิยม
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่(Rore function mode)
บทบาทปฐมภูมิ
อายุ
เพศ
ระดับ
บทบาทการเป็นวัยรุ่น
บทบาทการเป็นผู้สูงอายุ
บทบาททุติยภูมิ
บทบาทงานตามระดับ พัฒนาการ
การเป็นบิดามารดา
สามี ภรรยา
บทบาทตามอาชีพ
พยาบาล
ครู
นักศึกษา
บทบาทตติยภูมิ
บทบาทชั่วคราวที่บุคคลนั้นได้รับ
บทบาทสมาคม
บทบาทผู้ป่วย
การปรับตัวด้านการพึ่งพาซึ่งกันและกัน(Interdependent mode)
ถ้าบุคคลสามารถปรับตัวได้ก็จะสามารถอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นด้วยความรู้สึกมันคงปลอดภัย
การดูแลช่วยเหลือ
ประเมินระดับความสามารถในการปรับตัวทั้ง4ด้าน
การช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาไปสู่พฤติกรรมที่เหมาะสม
ทฤษฎีของโอเรม (OREM‘s THEORY)
ทฤษฎีระบบการพยาบาล (Theory of nursing system)
ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง (Theory of self-care deficit)
ทฤษฎีการดูแลตนเอง (Theory of self-care)
ระบบพยาบาล (nursing system)
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ตามความสามารถและความต้องการการดูแลตนเองของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
3 ระบบ
ระบบทดแทนทั้งหมด (wholly compensatory nursing system)
ระบบทดแทนบางส่วน (parrtly compensatory nursing system)
ระบบสนับสนุนและให้ความรูป (educative supportive nursing system)
วิธีการช่วยเหลือผู้ป่วย
การกระทำให้
การชี้แนะ
การสอน
การสนับสนุน
การสร้างสิ่งแวดล้อม
Biomedical Model
เกิดจาก
ความไม่สมดุลของสารชีวะเคมี
Epinephrine
ความรู้สึก อารมณ์
ความคิด การมีสมาธิ
การคิดมาก หรือร้อนลน
Nor-epinephrine
ความรู้สึก อารมณ์
ความคิด การมีสมาธิ
การคิดมาก หรือร้อนลน
Serotonin
การนอนหลับ หรือเกิดการนอนหลับ
การตื่นนอน
ความรู้สึกอยากรับประทานหรือไม่อยากรับประทานอาหาร
อารมณ์ความรู้สึก
Dopamine
มีการเคลื่อนไหวมากเกิน เคลื่อนไหวน้อยเกินไป หรือเคลื่อนไหวแปลกๆ
การตัดสินใจ
การรู้สึกตัว ไม่รู้ว่าตัวเองเป็นใคร
Acetylcholine
มีการเคลื่อนไหวมากเกิน เคลื่อนไหวน้อยเกินไป หรือเคลื่อนไหวแปลกๆ
มีผลต่อความทรงจำ
Gamma immunobutyric acid
การตอบสนองของสมอง
การสะท้อนกลับ
การรักษา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
Electro Convulsive Therapy (ECT)
โดยการให้ยา
ยา Anticholinergic
ยารักษาอารมณ์
ยากล่อมประสาท
ยาคลายกังวล
ยารักษาโรคจิต
Behaviour model
การรักษา
สนับสนุนการเรียนรู้ใหม่
การลดความรู้สึกอย่างเป็นระบบ ลดการกลัว
การแสดงออกที่ตอบสนองความต้องการ
เฝ้าดูความรู้สึกของตนเอง
การเสริมแรงทางบวกและทางลบ
หาต้นแบบเป็นแรงจูงใจ
การลงโทษ เพื่อให้หยุดพฤติกรรมนั้น
การปรับแต่งพฤติกรรมที่ง่ายไปพฤติกรรมที่ยาก
ใช้เทคนิคการเสริมแรง คือการเริ่มจากพฤติกรรมแรกไปพฤติกรรมสุดท้าย
การนำพฤติกรรมย่อยมาเรียงลำดับ เริ่มฝึกจากพฤติกรรมสุดท้ายไปถึงพฤติกรรมแรก
แรงจูงใจ
สิทธิพิเศษ
การสะสมพฤติกรรมที่ดีเพื่อแลกกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
การผ่อนคลาย
ผ่อนคลายทั้งด้าน ร่างกาย จิตจ อารมณ์ ความรู้สึก
เน้นการแก้ไขพฤติกรรมบำบัดที่เป็นปัจจุบัน
การใช้ตัวแบบที่ดี
การบังคับใช้
Psychoanalytic model
โครงสร้างทางจิตของฟรอยด์
ID
คือ แรงผลักดันของจิตใจที่มีมาแต่กำเนิดตามสัญชาตญาณ
Ego
เป็นส่วนหนึ่งของจิตใจ อาศัยเหตุและผล เพื่อตอบสนองสิ่งที่ตอนต้องการ
Superego
ทำหน้าที่เกี่ยวกับความรู้สึกชอบชั่วดีที่มีอยู่ในจิตใจของมนุษย์
กลไกลการป้องกันจิต
เกิดในระดับจิตไร้สำนึก ที่บุคคลใช้เพื่อลดความกังวลหรือความไม่สบายใจ มีสาเหตุมาจากความกลัว ความคับข้องใจ หรือความขัดแย้ง ถ้าใช้กลไกลไม่เหมาะสมจะติดเป็นนิสัยได้
การชดเชย
การเปลี่ยนแปลงความรู้สึกเป็นพฤติกรรม
การปฏิเสธ
การแทนที่
การโทษตัวเอง
การโทษผู้อื่น
การแยกตัว
การถดถอย
การเก็บกด
การลบล้างความผิด
การอ้างเหตุผล
การหาทางทดแทน
การทำตรงข้ามกับความรู้สึก
การเลียนแบบ
สัญชาตญาณ
ทางเพศ
เป็นแรงผลักดันให้คนแสวงหาความสุขและความพึงพอใจที่ต้องการ
ความก้าวร้าว
ทำให้คนแข่งขันกัน เอาชนะกัน และมีลักษณะในการทำลาย
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ระยะปาก
0-1ปี
เด็กจะมีความสุขอยู่กับการใช้ปากหรือการนำสิ่งต่างๆเข้าปากถ้าหากมีการหยุดของระยะนี้จะเกิด
พูดมาก
ช่างนินทา
ก้าวร้าว
กินจุบจิบ
สูบบุหรี่
ถุยน้ำลาย
ระยะทวารหนัก
1-3 ปี
เด็กจะเรียนรู้การขับถ่ายถ้าระยะนี้หยุดจะเกิด
เจ้าระเบียบ
ตรงต่อเวลา
ขาดความยืดหยุ่น
วิตกกังวล
ระยะพัฒนาการทางเพศ
3-6 ปี
เด็กช่วงนี้จะมีความสนใจทางเพศ
ระยะแฝง
6-12 ปี
เด็กวัยนี้จะเริ่มสร้างสัมพันธภาพกับเพศเดียวกันถ้าครอบครัวเข้มงวดจะเกิด
การย้ำคิดย้ำทำ
เคร่งครัดเกินไป
การเกิดปมด้อย
ระยะเจริญพันธุ์
12 ปีขึ้นไป
เริ่มสนใจเพศตรงข้าม
การรักษา
การตีความฝัน
การสะกดจิต
จิตบำบัด
จิตบำบัดเชิงสนุก
จิตบำบัดเชิงรุก
Humanistic model
Human being
Worth
การยอมรับ
การให้คุณค่าในการเป็นมนุษย์
การไม่ตำหนิ
Social theory
ต้องมีค่านิยมพื้นฐานของสังคม
ความคาดหวังทางสังคม
การยอมรับทางสังคม
การดูแลสุขภาพจิตชุมชน
Existential model
ความมีเสรีภาพ
มีความเป็นอิสระ
มีความรับผิดชอบ
การอมรับ
Cognitive behaviour model
ANTICEDENCE=>BEHAVIOUR=>CONSEQUENCES
การประเมินตัวเอง
การรับรู้
วิธีเปลี่ยนแปลง
การบำบัดอารมณ์ที่มีเหตุผล
การบำบัดพฤติกรรมอารมณ์ที่มีเหตุผล
การบำบัดด้วยความเป็นจริง
การบำบัดด้วยเกสตัลท์
สมาชิก
น.ส.จันทร์จิรา อนุกูล เลขที่ 10
น.ส.ชุตินันท์ วงค์ตาผา เลขที่ 19
น.ส.ณัฐการณ์ ไชยฤทธิ์ เลขที่ 25
น.ส.พลอย บุญก่อสร้าง เลขที่ 54
น.ส.วารุณี ศรีเจริญ เลขที่ 77
น.ส.วิลันดา เจริญธรรม เลขที่ 79