Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช…
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช
Nursing theory
Interpersonal Relation Theory
ของ Hildegard E. Peplau
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ลักษณะสำคัญดังนี้
การเข้ากันได้
เพื่อสร้างสัมพันธภาพ ให้เกิดความผ่อนคลาย
การสร้างความไว้วางใจ
เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น
การมองในแง่ดีและการยอมรับโดยปราศจากเงื่อนไข
การเข้าถึงความรู้สึกหรือเข้าใจตามการรับรู้ของผู้รับบริการ
มีการติดต่อสื่อสารที่มีจุดประสงค์
เน้นเพื่อแก้ไขปัญหาของผู้ป่วย
มีการถ่ายโอนความรู้สึก
การกำหนดหรือตั้งเป้าหมายชัดเจน
เพื่อปฏิบัติให้บรรลุตามที่ตั้งไว้
การมีอารมณ์ขัน
เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด
แนวคิดเกี่ยวกับมโนทัศน์หลักทางการพยาบาล
คน
บุคคล ซึ่งแสดงออกซึ่งพฤติกรรมที่บอกถึงความต้องการเฉพาะตัว
สิ่งแวดล้อม
กำหนดด้วยสถานการณ์ที่มีพยาบาลและผู้รับบริการและระบบการพยาบาล
สุขภาพ
ความรู้สึกสบาย เพียงพอและมีสุข
การพยาบาล
สถานการณ์เกิดจากการที่ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
King’s Theory
แนวคิด
บุคคล
เป็นส่วนหนึ่งของสังคม เป็นผู้ที่มีเหตุผลและความรู้สึกนึกคิด มีภาษาใช้ในการสื่อสาร
สิ่งแวดล้อม
ประกอบด้วย
สิ่งแวดล้อมภายในและสิ่งแวดล้อมภายนอก
สุขภาพ
เป็นกระบวนการของการเจริญเติบโต
และพัฒนาการของมนุษย์
การพยาบาล
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างการพยาบาลกับผู้รับบริการ
ที่มีการการรับรู้ข้อมูลซึ่งกันและกันและกำหนดเป้าหมายร่วมกัน
ระบบ
ระบบของบุคคล (personal system)
มีแบบแผนเฉพาะเป็นของตนเองเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ของสภาวะรอบตัวก็จะมีการปรับเปลี่ยนแบบแผนของตนเอง
ระบบระหว่างบุคคล
(interpersonal system)
บุคคล 2 คน ขึ้นไปหรือกลุ่มมีปฏิสัมพันธ์กัน
ระบบสังคม (social system)
เป็นขอบเขตที่สร้างขึ้นเพื่อรักษาคุณค่าสำหรับควบคุมการปฏิบัติกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาล
ทฤษฎีความสำเร็จตามจุดมุ่งหมาย
1.พฤติกรรมของผู้รับบริการ
2.การตอบสนองของผู้รับบริการต่อสิ่งรบกวน
3.สิ่งรบกวนหรือปัญหา
4.การตั้งเป้าหมายและกำหนดจุดมุ่งหมายร่วมกัน
5.การค้นหาแนวทางปฏิบัติ
6.การตกลงร่วมกันถึงวิธีปฏิบัติ
7.การบรรลุเป้าหมายของการปฏิสัมพันธ์
Orem’ s theory
แบ่งระบบการพยาบาลออกเป็น 3 ระบบ
2) ระบบทดแทนบางส่วน (Partly compensatory nursing system)
3) ระบบสนับสนุนและให้ความรูป (Educative supportive nursing system)
1) ระบบทดแทนทั้งหมด (Wholly compensatory nursing system)
วิธีการช่วยเหลือผู้ป่วย5 วิธี
การสอน
การสนับสนุน
การชี้แนะ
การสร้างสิ่งแวดล้อม
การกระทําให้
Roy’s Adaptation Theory
2) การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (Self-concept mode)
3) การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (Role function mode)
บทบาททุติยภูมิ (Secondary role)
เช่น บทบาทการเป็นบิดามารดา
บทบาทตติยภูมิ (Tertiary role)
เช่น บทบาทสมาชิกสมาคม
บทบาทปฐมภูมิ (Primary role)
เช่น บทบาทการเป็นวัยรุ่น
1) การปรับตัวด้านร่างกาย (Physiological mode)
4) การปรับตัวด้านการพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Interdependent mode)
การดูแลช่วยเหลือ
ประเมินระดับความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วยทั้ง 4 ด้าน
การช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาไปสู่พฤติกรรมที่เหมาะสม
Biomedical Model
ความไม่สมดุลทางชีวเคมี
Acetylcholine
การเคลื่อนไหว ความจำ
Serotonin
การนอนหลับ/ตื่น ความอยากอาหาร อารมณ์
Gamma immunobutyric acid
การตอบสนองของสมองการสะท้อนกลับ การคิดที่ผิดปกติไป
Epinephrine
อารมณ์ ความวิตกกังวล
Dopamine
การเคลื่อนไหว การตัดสินใจ การรับรู้
Nor-epinephrine
ความคิดความกังวล
การทำงานของสมองที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของสุขภาพจิต
การตัดสินใจที่ผิดปกติ
อารมณ์ที่ไม่คงที่
การนอนไม่หลับ นอนหลับยาก
วิธีการรักษา
ยาเม็ด / ยาฉีด
รักษาโรคจิตยาคลายกังวล
ยากล่อมประสาทยา
ยาAnticholinergic
ยาต้านเศร้า
กระแสไฟฟ้า
กระตุก
บำบัด (ECT)
Electro
Humanistic Model
อธิบายว่า
คนทุกคนล้วนมีศักยภาพในตัวเอง
มนุษย์สามารถควบคุมและตัดสินใจได้
ด้วยตนเอง
การรักษา
มุ่งเน้น
การมองเห็นคุณค่า
ไม่ดูถูกหรือตำหนิ
Interpersonal Relationship Model
ROY’S ADAPTATION
เน้นการปรับตัวใน 4 ด้าน เพื่อให้ครอบคลุมการดูแล
ได้แก่
Physical
Roles & functions
Self awareness, self image
Interpersonal relationships
SOCIAL THEORY
มองสังคมเป็นหลัก
ได้แก่
Social norm
ค่านิยมของสังคมเป็นสิ่งกำหนด
Social expectation
ความคาดหวังของสังคม
Social acceptance
การยอมรับทางสังคม
EXISTENTIAL MODEL
เชื่อมั่นในเสรีภาพและต้องยอมรับในผลจากการกระทำ
ได้แก่
Independence
Free
Exist
responsibility
Psychoanalytical Model
พฤติกรรมของมนุษย์
เกิดจาก
สัญชาตญาณ
เเรงขับเคลื่อน
Defense mechanism
หาเหตุผลมาเข้าข้างตัวเอง
เมื่อทำอะไรผิดไปก็จะทำอย่างอื่นเพื่อลดทอนโทษ
Psycho sexual development
มี 5 ขั้น
ขั้นปาก (oral stage)
ขั้นทวารหนัก (anal stage)
ขั้นอวัยวะเพศ ( phalic or odipal stage)
ขั้นแฝงหรือขั้นพัก ( latentcy stage)
ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (genital stage)
Id-Ego-Superego
การวิเคราะห์ทางจิต โดยมีความสัมพันธ์กับเรื่องราวในอดีต
วิธีการรักษา
เพื่อ
คลายความทุกข์
Dream interpretation
เน้นให้เล่าความฝัน
Free association
ให้เล่าสิ่งที่อยากจะเล่า
Hypnosis
สะกดจิต
สามารถบอกได้ว่าความทุกข์ในอดีตนั้นคืออะไร
Psychotherapy
2 ระดับ
Supportive psychotherapy
ทำความเข้าใจกับเรื่องในอดีต
Insight psychotherapy
เน้นเเก้ไขปมในอดีต
Behavior Model
เรียนรู้จากประสบการณ์ (ปัจจุบัน)
การบังคับใช้
วิธีการเปลี่ยน
กล้าแสดงออกด้วยตนเอง
การเสริมแรงบวก แรงลบ
ระบบ desensitization
การลงโทษ
แรงจูงใจ
เศรษฐกิจ
เทคนิคการผ่อนคลาย
เทคนิคการปรับแต่ง
Successive approximation เป็นการใช้เทคนิคการเสริมแรง (Reinforcement) กับพฤติกรรมที่เหมือนหรือใกล้เคียงกับพฤติกรรมที่เราต้องการโดยดำเนินการเป็นขั้นตอน
Chaining เป็นการนำพฤติกรรมย่อยๆ ต่างๆ มาเรียงลำดับจากพฤติกรรมแรก (initial) จนถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้าย (terminal) แล้วเริ่มฝึกจากพฤติกรรมขั้นสุดท้ายขึ้นมา
Cognitive Behaviour Model
ABC
สิ่งที่สื่อให้เข้าใจถึงการเจ็บป่วย
ได้แก่
BEHAVIOUR
CONSEQUENCES
ผลที่เกิดขึ้น
ANTICEDENCE
Appraisal
ตีความสิ่งที่เกิดขึ้น
Here & now
แก้สิ่งที่เกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน
คือ การปรับเปลี่ยนความคิด
หากด้อยปัญญาไม่สามามรถใช้ได้
รายชื่อสมาชิก
น.ส.คีตภัทร บุญขำ เลขที่ 9 62111301010
น.ส.ชลธิชา ศรีสิงห์ เลขที่ 16 62111301017
น.ส.ปวันรัตน์ ชื่นอารมณ์ เลขที่ 48 62111301050
น.ส.ศุภิสรา หงษ์ทอง เลขที่ 84 62111301087
น.ส.สลิลทิพย์ สังข์ทอง เลขที่ 85 62111301088