Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ, กลุ่มที่ 19 - Coggle Diagram
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ
Nursing theory
ทฤษฎีของโอเรม
(OREM’ s THEORY)
ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง (Theory of self-care deficit)
ทฤษฎีการดูแลตนเอง (Theory of self-care
ทฤษฎีระบบการพยาบาล (Theory of nursing system)
ระบบพยาบาลของโอเรม
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
แบ่งได้ 3 ระบบ ดังนี้
ระบบทดแทนทั้งหมด (Wholly compensatory nursing system)
พยาบาลทำให้หมดเลย เช่น
อาบน้ำ
ป้อนอาหาร
ระบบทดแทนบางส่วน (Partly compensatory nursing system)
ส่วนไหนที่พร่องทำไม่ได้จะช่วยเหลือ เช่น
การรู้คิดไม่ได้
ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ (Educative supportive nursing system)
วิธีการช่วยเหลือผู้ป่วย
การกระทําให้
การชี้แนะ
การสอน
การสนับสนุน
การสร้างสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีทางการพยาบาลของคิง(King’s Theory)
1) บุคคล (Person)
บุคคลจะแสดงความสามารถใน
การรับรู้
กาคิด
การเเสดงความรู้สึก
การเเสดงอารมณ์
การเลือกเเสดงพฤติกรรม
การวางเป้าหมาย
การเลือกเเนวทางในการปฏิบัติ
มีการตัดสินใจสำหรับสิ่งแวดล้อม
ให้บรรลุวัตถุประสงค์
คิงอธิบายว่า
สิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย
สิ่งแวดล้อมภายใน
สิ่งแวดล้อม ภายนอก
บุคคลจะมีการแลกเปลี่ยนพลังงานกับสิ่ง แวดล้อมภายนอกตลอดเวลา
1 more item...
2) สุขภาพ (Health)
เป็นกระบวนการของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
ความเจ็บป่วยอาจมีผลกระทบต่อบุคคล
ในทุก
กลุ่มอายุ
ระดับ
สถานภาพทางสังคมเเละเศรษฐกิจ
ภาวะวิกฤติ
จะเกิดขึ้น
2 more items...
ภาวะสุขภาพ
จะสัมพันธ์กับ
วิถีทางที่แต่ละบุคคลใช้ในการเผชิญความเครียด
จากการ
เจริญเติบโต
1 more item...
3) การพยาบาล (Nursing)
เป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างการพยาบาลกับผู้รับบริการ
ที่มีการแลกเปลี่ยน การรับรู้ข้อมูลซึ่งกันและกัน
ผ่านกระบวนการสื่อสาร
โดยมีการ
กำหนดปัญหา
กำหนดเป้าหมายร่วมกัน
ค้นหาวิธีการปฏิบัติ
เลือกวิธีที่จะปฏิบัติร่วมกัน
เพื่อนำไปสู่
1 more item...
ระบบ
1) ระบบของบุคคล (personal system)
พยาบาลและผู้รับบริการ
จะมี
ระบบส่วนตัว
แบบแผนเฉพาะเป็นของตนเอง
ในการปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม
1 more item...
มโนทัศน์ที่เกี่ยวข้อง
ได้เเก่
การรับรู้ (perception)
อัตตา (self)
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ (growth and development)
ภาพลักษณ์ (image)
เทศะ (space)
กาละ (time)
2) ระบบระหว่างบุคคล (interpersonal system)
ได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นผู้ช่วยลดปัจจัย
ที่ก่อให้เกิด
ความเครียด
1 more item...
มโนทัศน์ ที่เกี่ยวข้อง
ได้เเก่
ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ (human interaction)
การสื่อสาร (communication)
ปฏิสัมพันธ์ที่มีเป้าหมาย (transaction)
บทบาท (role)
ความเครียด (stress)
เจริญเติบโตและพัฒนาการ (growth and development)
ภาพลักษณ์ (image)
เทศะ (space)
กาละ (time)
3) ระบบสังคม (social system)
เป็นขอบเขตระบบบทบาทของ
สังคม
พฤติกรรม
การปฏิบัติที่สร้างขึ้นเพื่อรักษาคุณค่าและกลไก
สำหรับควบคุม
2 more items...
มโนทัศน์ที่เกี่ยวข้อง
ได้เเก่
องค์การ (organization)
อำนาจหน้าที่ (authority)
อำนาจ (power)
สถานภาพ (status)
การตัดสินใจ (decision making)
ทฤษฎีความสำเร็จตามจุดมุ่งหมาย
เป็นกระบวนการ 7 ขั้นตอน
1.พฤติกรรมของผู้รับบริการ
การตอบสนองของผู้รับบริการต่อสิ่งรบกวน
สิ่งรบกวนหรือปัญหา ซึ่งทำให้ผู้รับบริการต้องมาโรงพยาบาล
การตั้งเป้าหมายและกำหนดจุดมุ่งหมายที่เป็นไปได้ร่วมกันของพยาบาลและ ผู้รับบริการ
การค้นหาแนวทางปฏิบัติ
การตกลงร่วมกันถึงวิธีปฏิบัติ ที่ต้องมีความเห็นพ้องต้องกันและยอมรับในวิธี การปฏิบัติ
การบรรลุเป้าหมายของการปฏิสัมพันธ์ เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกในขั้นสุดท้าย ซึ่งแสดงให้เห็นว่า จุดมุ่งหมายนั้นสำเร็จตามที่ตั้งเอาไว้
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
(Roy’s Adaptation Theory)
1) การปรับตัวด้านร่างกาย (Physiological mode)
เป็นการปรับตัวเพื่อรักษาความ มั่นคงด้านร่างกาย
สนองตอบต่อความต้องการพื้นฐานของบุคคล 5 ด้าน
การขับถ่าย
กิจกรรม
การพักผ่อน
อาหาร
ความต้องการออกซิเจน
2) การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (Self-concept mode)
ความมั่นคงทางจิตใจ
อัตมโนทัศน์เป็นความเชื่อ
ความรู้สึกที่บุคคลยึดถือ
รูปร่างหน้าตา
ภาวะสุขภาพ
การทำหน้าที่
3) การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (Role function mode)
บุคคลมีตำแหน่ง
บทบาทในสังคมของตนเอง
บทบาทของบุคคลมี 3 กลุ่ม
บทบาทปฐมภูมิ (Primary role)
บทบาทตามอายุ เพศ และระดับพัฒนาการ
บทบาททุติยภูมิ (Secondary role)
เป็นบทบาทที่เกี่ยวกับงานตามระดับ พัฒนาการ
บทบาทตติยภูมิ (Tertiary role)
เป็นบทบาทชั่วคราวที่บุคคลนั้นได้รับ
4) การปรับตัวด้านการพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Interdependent mode)
การพึ่งพาระหว่างกัน (Interdependence)
สมดุลระหว่างการพึ่งตนเอง (Independence)
การพึ่งพาผู้อื่น (Dependence)
การให้ผู้อื่นได้ พึ่งตนเอง
การดูเเลช่วยเหลือ
ประเมินระดับความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วยทั้ง 4 ด้าน
สามารถปรับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาไปสู่พฤติกรรมที่เหมาะสม
เป็นเป้าหมายที่เกิดขึ้นได้จริงภายหลังที่ได้ปฏิบัติการพยาบาลเสร็จสิ้นลง
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ของ Hildegard E. Peplau
ทฤษฎีนี้มองว่า
บุคคล (Person)
จะมีพฤติกรรม คำพูด และท่าทาง ที่บอกถึงความต้องการเฉพาะตัวและขอความช่วยเหลือให้แก้ปัญหา
สุขภาพ (Health)
เป็นความรู้สึกสบาย เพียงพอ และมีสุข อิสระจากความไม่สุขสบายกายและใจ
สิ่งแวดล้อม (Environment)
พยาบาลเป็นส่วนหนึ่งของผู้ป่วย
การพยาบาล (Nursing)
เมื่อผู้รับบริการต้องการความช่วยเหลือ พยาบาลจะมีปฏิสัมพันธ์กับผู้รับบริการโดย
ให้การช่วยเหลือลดความไม่สุขสบาย
ปรับปรุงพฤติกรรมของผู้รับบริการ
เพิ่มความสามารถในการดูแลตนเอง
ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้รับบริการ
พยาบาลต้องคำนึงถึงการพยาบาลแบบองค์รวมของผู้รับบริการเป็นหลัก
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การเข้ากันได้ (Rapport)
พยาบาลต้องเข้ากับผู้รับบริการได้เพื่อให้ผู้รับบริการ
มีความผ่อนคลาย
รู้สึกว่าตนได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม
การสร้างความไว้วางใจ (Trust)
เป็นความรู้สึกเชื่อมั่นอย่างจริงใจที่บุคคลหนึ่งมีต่ออีกบุคคลหนึ่ง
มีความเชื่อมั่นอยู่ภายใน ความไว้วางใจ
ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเสมอต้นเสมอปลาย
พยาบาล
มีความสม่ำเสมอและจริงใจ
ช่วยให้ผู้รับบริการค่อย ๆ สร้างความเชื่อถือในตัวพยาบาล
ในระยะแรกผู้รับบริการอาจจะยังทดสอบพยาบาลอยู่
การมองในแง่ดีและการยอมรับโดยปราศจากเงื่อนไข (Unconditional Positive Regard and Acceptance)
พยาบาล
มีความเต็มใจที่จะเข้าใกล้ผู้รับบริการ
มองในแง่ดี
ไม่ตัดสิน
มีความเชื่อใน
คุณค่า
ศักดิ์ศรี
ความสำคัญของความเป็นบุคคล
เข้าใจตามการรับรู้ของผู้รับบริการ (Empathy)
พยาบาล
เข้าใจความรู้สึกของผู้รับบริการเหมือนกับที่ผู้รับบริการรู้สึก
แต่ต้องแยกตนเองไว้ต่างหาก
ติดต่อสื่อสารที่มีจุดประสงค์
(Purposeful communication)
เน้น
ปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง
พัฒนาส่งเสริม
ป้องกันปัญหา
ถ่ายโอนความรู้สึก(Transference)
ถ่ายโอนมายังพยาบาลจากความใกล้ชิด
รู้สึกว่าพยาบาลเป็นเหมือนคนสำคัญของตนเองในด้านต่าง ๆ
ทั้งความรู้สึกทั้งด้านบวกและด้านลบ
ทำให้ผู้รับบริการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา
กำหนดหรือตั้งเป้าหมายชัดเจน (Goal Formulation)
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ต้องมีการตั้งเป้าหมาย
ปฏิบัติให้บรรลุตามที่ตั้งไว้
มีอารมณ์ขัน (Humor)
ผ่อนคลายความตึงเครียดในบางสถานการณ์
พยาบาล
ผู้รับบริการ
ทฤษฎี และแนวคิดพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลจิตเวช
แบบจำลองจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytical Model)
โครงสร้างของจิตใจ
id
แรงขับตามสัญชาตญาณ เพื่อสนองความต้องการ
Ego
มีเหตุและผล หลักแห่งความเป็นจริง
Superego
ความรู้สึกผิด ชอบ ชั่ว ดี
กลไกป้องกันทางจิตใจ(Defense mechanism) เช่น
การเก็บกด (Repression)
การลงโทษผู้อื่น (Projection)
การอ้างเหตุผล (Rationalization)
การถดถอย (Regression)
การแทนที่ (Displacement)
การเลียนแบบ (Identification)
สัญชาตญาณ (Instinct)
สัญชาตญาณทางเพศ
สัญชาตญาณแห่งความก้าวร้าว
Psychosexual development
ระยะของความพอใจทางปาก (Oral Stage)
ระยะของความพอใจทางทวารหนัก (Anal Stage)
ระยะพึงพอใจในอวัยวะเพศ (Phallic Stage)
ระยะความต้องการแฝง (Latency Stage)
ระยะวัยเจริญพันธุ์(Genital Stage)
แบบจำลองมนุษยนิยม (Humanistic Model)
วิธีการ
เป็นการค้นหา
ข้อดี
ในตัวมนุษย์เเต่ละคน
เเละชื่นชมให้ใช้สิ่งต่างๆที่พวกเขามี
พลัง
ศักยภาพ
ให้คุณค่ากับความเป็นมนุษย์
โดยมองว่า
มนุษย์ทุกคน
มีคุณค่าในตัวของตัวเอง
ใฝ่ดี
เก่ง
มีความสามารถ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คิดในเเง่บวกเเละเป็นผลดีต่อสังคม
ข้อห้าม
ไม่ตำหนิ
ไม่ว่าร้าย
ไม่ทำให้บุคคลอื่นรู้สึกไม่สบายใจ
ทฤษฎีทางสังคม (Social theory)
บรรทัดฐานทางสังคม
สังคมเป็นตัวกำหนด
การไม่สบายทางจิต
การป่วยทางจิต
คาดหวังทางสังคม
การมีน้ำใจ เช่น ช่วยผู้ใหญ่ถือของ
หากไม่มีน้ำใจ ก็จะถูกมองเป็นคนไม่ดี
การยอมรับทางสังคม
การได้รับการยอมรับจากคนอื่นๆ
การแก้ไข
แก้ไขด้วยตัวเอง
ปรับที่ตัว Social
การดูแลสุขภาพจิตชุมชน
ปรับทัศนคติของสังคม
สังคมต้องยอมรับผู้ป่วยทางจิต
แบบจำลองพฤติกรรมทางปัญญา (Cognitive Behaviour Model)
หลักการ
พฤติกรรม & อารมณ์เป็นผลจากลักษณะความคิด
แต่ละคนมีปฏิกิริยาต่อสิ่งแวดล้อม
ทำให้เกิดการตีความรับรู้ต่างกันไป
ปฏิกิริยาความคิดที่คาดเคลื่อน
ทำให้การใช้เหตุผลผิดไป
เกิดความรู้สึกที่ไม่ดีตามมา
ข้อบ่งชี้
ใช้ได้ตั้งแต่
ปัญหาในชีวิตประจำวัน
โรคที่วิตกกังวล
โรคซึมเศร้า
พฤติกรรม อารมณ์
เป็นผลมากจากความคิดที่คลาดเคลื่อน
ทำให้เหตุผลผิดไป
เกิดความรู้สึกที่ไม่ดีตามมา
บำบัด
เป็นตัวของตัวเอง
ไม่คิดถึงอดีต
มีแรงจูงใจ รักษาให้พบความหมายของชีวิต
บำบัดอารมณ์ด้วยเหตุผล
บำบัดพฤติกรรมด้วยเหตุผล
พฤติกรรม
ความรู้สึก
ความคิด
Biomedical Model Biomedical Model
ความไม่สมดุลทางชีวเคมี
Epinephrine
อารมณ์
ความวิตกกังวล
Nor-epinephrine
Serotonin
นอนหลับ
ตื่น
อยากอาหาร
Acetylcholine
การเคลื่อนไหวหน่วยความจำ
Dopamine
การเคลื่อนไหว
การรับรู้
การตัดสินใจ
Gamma immunobutyric acid
การตอบสนองของสมองการสะท้อนกลับ
วิธีการรักษา
ยา
ยาเม็ด
ยาฉีด
ยารักษาโรคจิต
ยาคลายกังวล
ยากล่อมประสาท
ยารักษาอารมณ์
ยา Anticholinergic
Electro Convulsive Therapy (ECT)
ทฤษฎีการพยาบาล (Nursing Theories)
roy’s adaptation
Physical
การปรับตัวด้านร่างกาย
Self awareness, self image
การตระหนักรู้ในตนเอง
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์
Roles & functions
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่
Interpersonal relationships
การปรับตัวด้านการพึ่งพาระหว่างกัน
ทฤษฎีอัตถิภาวะนิยม (Existential model)
เน้นเสรีภาพของมนุษย์
อยู่ใต้ขอบเขตความรับผิดชอบ
แสวงหาความหมายของชีวิต
มยุาย์เป็นผู้กำหนดชะตาของตนเอง
ความเชื่อของทฤษฎี
มนุษย์มีอิสระที่จะพัฒนาศักยภาพของตนให้ถึงขีดสูงสุด
ตระหนักต่อความคิดของชีวิต
มนุาย์เป็นผู้แก้ปัญหาของตน
แบบจำลองพฤติกรรม (Behaviour Model)
คือ พฤติกรรมบำบัด
การแก้ไขคือใช้
Model
ให้การเรียนรู็ใหม่ๆตัวอย่างไหม่ๆเช่น ทำแบบนั้นจะประประสบความสําเร็จ
Learned from experience (current)
เป็นการเรียนรู้ใหม่โดยไม่สนใจอดีตที่ผ่านมา
Re-enforcement
สนับสนุนให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้
วิธิการ เช่น
ลบความรู้สึกอย่างเป็นระบบ เช่น ให้เขาได้เจอสิ่งที่กลัวทีละนิด
การแสดงออกที่ตอบสนองความต้องการโดยที่มีความเป็นกลาง
เฝ้าดูตัวเองให้เข้าใจตนมากขึ้น
การเสริมแรงทางบวก
การเสริมแรงทางลบ
ให้หาต้นแบบ
ลงโทษเพื่อให้หยุกพฤติกรรมนั้น
ให้หาเป้าหมาย ต้องมีความต่อเนื่อง
ให้สิ่งที่ต้องการก่อนและค่อยเกิดพฤติกรรม
มีการสะสมแต้มและให้รางวัล
ทำให้ผ่อนคลายโดยมีสิ่งแวดล้อมช้วย
กลุ่มที่ 19
นางสาวกัญญาณัฐ สมประสงค์ เลขที่ 4
นางสาวปาลิตา ชูกร เลขที่ 49
นางสาวศศิประภา รูปสงค์ เลขที่ 80
นางสาวศศิภัทร ธุระแพง เลขที่ 81
นางสาวสาวิตรี ออมสิน เลขที่ 108