Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
คนพิการ
บุคคลซึ่งมีข้อจำกัด ในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
ผู้ดูแลคนพิการ
บิดา มารดา ผู้ปกครอง บุตร สามี ภรรยา ญาติ
พี่น้องหรือบุคคลอื่นที่รับเลี้ยงอุปการะคนพิการ
แผนจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
Individualized Education Program : IEP
แผนซึ่งกำหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่ สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษคนพิการ
เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก
เครื่องมือ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ หรือบริการที่ใช้สำหรับคนพิการโดยเฉพาะ
ครูการศึกษาพิเศษ
ครูที่มีวุฒิการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้น ไปและปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
การเรียนรวม
คนพิการเข้าศึกษาในระบบการศึกษา ทั่วไปทุกระดับและหลากหลายรูปแบบ
สถานศึกษาเฉพาะความพิการ
สถานศึกษาของ “รัฐหรือเอกชน” ที่จัดการศึกษา สำหรับคนพิการโดยเฉพาะทั้งในลักษณะอยู่ประจำ หรือไป กลับและรับบริการที่บ้าน
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
สถานศึกษาของ “รัฐ” ที่จัดการศึกษา ”นอกระบบหรือตามอัธยาศัย” แก่คนพิการ
ศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ
สถานศึกษาที่จัดการศึกษา ”นอกระบบหรือตามอัธยาศัย” แก่คนพิการโดยเฉพาะ โดยหน่วยงานการศึกษานอกโรงเรียน (นอกเหนือจากรัฐจัด)
องค์การคนพิการแต่ละประเภท
องค์กรสมาชิกระดับชาติประเภทความพิการที่ได้แจ้งชื่อไว้กับ
“สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ”
คณะกรรมการ
“คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ”
กองทุน
“กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสำหรับคนพิการ”
ประเภทความพิการ
9 ประเภท
คณะกรรมการพิจารณาให้คนพิการได้รับ สิทธิช่วยเหลือทางการศึกษา
-จำนวน 15 คน
-ปลัด ศธ. เป็น ประธาน
-ผอ.สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ เป็น เลขานุการ
คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษา สำหรับคนพิการ
-จำนวน 27 คน
-รมต.ศธ. เป็น ประธาน
-รมช.มท เป็น รองคนที่หนึ่ง
-ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นคนพิการ เป็น รองคนที่สอง
-ผอ.สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ เป็น เลขานุการ