Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Anxiety&Stress - Coggle Diagram
Anxiety&Stress
ความเครียด
กรมสุขภาพจิต
ได้ให้ความหมายว่าความเครียดเป็น
อาการที่ร่างกายและจิตใจเกิดการตื่นตัวเตรียมรับกับเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งซึ่งบุคคลคิดว่าไม่น่าพอใจ หรือเป็นเรื่องที่เกินกำลัง
ความสามารถและทรัพยากรที่จะแก้ไข ทำให้เกิดความหนักใจเป็นทุกข์
และอาจทำให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกายและพฤติกรรมตามไปด้วย
Selye (1976)
กล่าวว่า ความเครียดเป็นกลุ่มอาการที่ร่างกายมีปฎิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งที่มาคุกคามโดยสิ่งนั้น เป็นสิ่ง ที่ไม่พึงประสงค์ และมีต้นเหตุจากสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งร่างกาย จิตใจสิ่งแวดล้อม และสังคมที่บุคคลประเมินแล้วว่าเป็นอันตรายต่อตนเอง
สาเหตุของความเครียด
-
สาเหตุจากภายในตัวบุคคล
โครงสร้างของร่างกายและสภาวะทางสรีระวิทยา
• ระดับพัฒนาการ เนื่องจากความไม่สมดุลกันระหว่างความคาดหวังของคนแวดล้อมกับความสามารถของบุคคล
• การรับรู้ และการแปลเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดอารมณ์กลัว โกรธ เกลียด กังวล หรือตื่น เต้น ถือเป็นเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียด ทำให้ร่างกายถูกกระตุ้นและมีการสนองตอบทางด้านสรีรวิทยา
• สิ่งที่คุกคามต่อภาพพจน์ของบุคคล สูญเสียเอกลักษณ์ความเป็นหญิงจาการผ่าตัดเต้านม การตัดมดลูก
• ความเจ็บปวด
• การเคลื่อนไหวไม่ได้
• การสูญเสียและการเปลี่ยนแปลง การสูญเสียบุคคลที่รัก
ผลกระทบของความเครียด
ด้านร่างกาย
• ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนที่เรียกว่า คอร์ติซอล และ อะดรีนาลินออกมาเพื่อทำให้ร่างกายมีความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็ว
• แต่หากร่างกายไม่ได้ใช้พลังงานเหล่านั้น ฮอร์โมนที่หลั่ง ออกมาจะหมนุ เวียนเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้อวัยวะต่างๆ ทำงานผิดปกติบ่อยขึ้นจนกลายเป็นโรคเรื้อรังต่างๆ
- ระยะเตือน (Alarm reaction)
ระยะที่เริ่มรู้ว่ามีสิ่งคุกคามต่อตัวคน ร่างกายจะทำการ
ปรับตัวโดยผลิตฮอร์โมนออกมาเพื่อรักษาสมดุลเอาไว้
- ระยะต่อต้าน (Stage of resistance)
ระยะที่ร่างกายปรับตัวเพื่อต่อสู้กับสิ่งคุกคามโดยใช้
กลวิธีต่าง ๆ เพื่อให้ชีวิตอยู่รอดและไม่รู้สึกว่าเกิด
ความเครียดจนทนไม่ได้
- ระยะหมดกำลัง (The stage of exhaustion)
เป็นระยะที่ไม่สามารถปรับตัวได้ จะเกิดความเครียดสูงหรือ
เกิดความเครียดว่ามีการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย
ความผิดปกติทางจิตใจ
กลัวโดยไร้เหตุผล ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง วิตกกังวล คิดมาก คิดฟุ้งซ่าน หลงลืมง่าย ไม่มีสมาธิ หงุดหงิด โกรธง่าย ใจน้อย เบื่อหน่าย ซึมเศร้าเหงา ว้าเหว่ สิ้น หวัง หมดความรู้สึกสนุกสนาน
ความผิดปกติทางพฤติกรรม ได้แก่ มีการรับประทาน
อาหารเพิ่มขึ้น หรือลดลง สูบบุหรี่ ดื่มสุรามากขึ้น ใช้สารเสพย์ติด ใช้ยานอนหลับ จู้จีขี้บ่น ชวนทะเลาะ
ระดับความเครียด
- ความเครียดระดับตํำ (Mild stress) ความเครียดที่เกิดขึ้น และหมดไปในระยะเวลาอันสั้นเพียงนาทีหรือชั่วโมงเกี่ยวข้องอยู่กับสาเหตุ หรือเหตุการณ์เพียงเล็กน้อยในชีวิตประจำวัน
- ความเครียดระดับปานกลาง(Moderate stress) ความเครียดระดับนี้รุนแรงกว่าระดับแรก อาจจะอยู่นานเป็นชั่วโมงหรือเป็นวันซึ่งส่งผลกระทบต่อตัวบุคคลมากกว่าสาเหตุในระดับแรก เช่น ความเครียด
- ความเครียดระดับสูง (Severe stress) ความเครียดระดับนีรุนแรงมากมีอาการอยู่เป็น สัปดาห์ หรืออาจเป็นเดือนหรือปี สาเหตุรุนแรงสาเหตุเดียวหรือหลายสาเหตุเช่นการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
-
-
Moderate anxiety
ด้านร่างกาย
-อัตราการเต้นหัวใจ ความดัน สูงมากขึ้น
-กระฉับกระเฉง
-เหงื่อออก
-หายใจเร็ว
-พูดเร็ว
-ม่านตาขยาย
-
-
-
severe
anxiety
ด้านร่างกาย
-หัวใจเต้นเร็ว ความดันสูง หายใจหอบ
-กล้ามเนื้อเกร็ง
-ปากแห้ง เบื่ออาหาร คลื่นไส้
-ไม่สบตา
-มีความเจ้บป่วยทางกาย
พฤติกรรม
-ไม่รับรู้ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
-ไม่ได้ยินสิ่งที่บอก
-กระสับกระส่าย
-พูดเร็วมาก หรือพูดไม่ออกเสียง
การเรียนรู้การตัดสินใจ
-ความคิดสับสน
-ไม่รู้เวลาสถานที่
-คิดไม่ออก ตัดสินใจไม่ดี
-หวาดกลัว จำไม่ได้
-ไม่มีความคิดสรา้งสรรค์
-
panic
anxiety
ด้านร่างกาย
-ทำในสิ่งที่ตอนปกติทำไม่ได้
-ความดันลดต่ำ
-หมดแรง เป้นลม
-ซีด สีหน้าตกใจ
-แขนขาขยับ
-หมดสติ ช็อค
พฤติกรรม
-มีพฤติกรรมรุนแรง
-มีพฤติกรรมหนี ตกใจ กลัวตาย
-พูดไม่รู้เรื่อง
-ตะโกนเสียงดัง
-ถามคำถามซ้ำ
-อาจมีประสาทหลอน
การเรียนรู้การตัดสินใจ
-ความคิดสับสน ไม่ต่อเนื่อง
-รับรู้ผิด ไม่เข้าใจคำสั่ง
-ไม่รู้เวลาสถานที่
-แก้ปัญหาไม่ได้
การพยาบาล
-ช่วยให้ผู้ป่วยสงบ ปกป้องให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย
-ลดสิ่งกระตุ้น
-ตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย
สภาวะทางอารมณ์ซึ่ง เป็นสัญญาณเตือนว่ามี การกระตุ้นที่มากเกิดขึ้น รู้สึกเหมือนถกูคุกคาม ตกอยู่ในอันตรายและไม่มั่นคงปลอดภยั ทำให้ เกิด ความหวาดหวั่นตึงเครียดไม่เป็นสุขมีการ ตอบสนองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ระดับของความวิตกกังวล
- ความวิตกกังวลในระดับต่ำ (Mild anxiety) หมายถึง
มีความวิตกกังวล เพียงเล็กน้อย กระตุ้นให้บุคคลมีความ
ตื่นตัว เตรียมพร้อมที่จะรับรู้ และ ปรับตัวให้สามารถเข้า
กับสถานการณ์นั้นได้ในบางคนจะมีการรับรู้ดีขึน
2.ความวติกกังลในระดับปานกลาง
(Moderate anxiety)มีความตื่นตัวมากขึ้นเนื่องจากระบบประสาท Sympathetic ทํางาน จะลุกลี้ลุกลน การรับรู้จะถูกจำกัดให้แคบลง
3.ความวิตกกังวลในระดับรุนแรง (Severe anxiety) อาการลุกลี้ลุกลนกระสับกระส่าย หรือการพูดรัวและเร็วขึ้น บางคนอาจจะพูดติดอ่างการ รับรู้และการมีสติลดลง มีการตอบสนองแบบสูงหรือหนี
4.ความวิตกกังวลในระดับรุนแรงที่สุด (Panic anxiety) ไม่สามารถควบคุมตนเองได้และกระทำกิจกรรมต่างๆ อย่างไม่มีจุดมุ่งหมาย