Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วย ทางจิตเวชโรคซนสมาธิสั้น,…
บทที่ 4
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วย
ทางจิตเวชโรคซนสมาธิสั้น
โรคซน-สมาธิสั้น (attention-deficit/ hyperactivity disorder: ADHD) จะเริ่มแสดงอาการตั้งแต่วัยเด็ก โดยมีลักษณะการไม่ใส่ใจ ขาดสมาธิ (inattention) และ/หรือ มีอาการซนไม่อยู่นิ่ง (hyperactivity) หุนหันพลันแล่น (impulsivity) ซึ่งเป็นรูปแบบที่มีลักษณะถาวร (persistent patter) ส่งผลต่อการทำหน้าที่หรือพัฒนาการของเด็ก
อาการซนไม่อยู่นิ่ง หมายถึง
การที่มีกิจกรมการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
อาการหุนหันพลันแล่น หมายถึง การกระทำที่รีบร้อนที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหันโดยขาดการคิดไตร่ตรอง
ขาดความสุขุมรอบคอบ และมีโอกาสสูงที่จะเป็นอันตรายต่อตนเอง
การพยาบาลโรคซนสมาธิสั้น
การประเมินสภาพ
การประเมินที่โรงพยาบาล
ประเมินระยะเวลาที่เด็กเริ่มมีอาการของโรค
ประเมินว่ามีปัจัยใดที่ทำให้เด็กมีอาการดีขึ้นหรือแย่ลง
ประเมินตัวเด็กว่ามีพัฒนาการทุกด้าน
ประเมินประวัติอดีตในเรื่องเกี่ยวกับอาการของคุณแม่ขณะตั้งครรภ์
ประเมินรูปแบบการเลี้ยงดูของพ่อแม่
การประเมินเมื่อเด็กอยู่ที่โรงเรียน
ลักษณะของการมีปฏิสัมพันธ์ต่อเพื่อน
ผลการเรียนป็นอย่างไร
เด็กมีพฤติกรรมอย่างไรบ้าง
ความรู้ความเข้าใจของคุณครูเกี่ยวกับโรค
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับพ่อแม่และเด็ก และคุณครู
ให้ความรู้ คำแนะนำแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคุณครูเกี่ยวกับโรค
กำหนดพฤติกรรมของเด็กที่ความคาดหวังร่วมกัน
ระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครอง คุณคร
ดูแลให้เด็กได้รับการรักษาด้วยยาร่วมกับการรักษาด้วยการปรับพฤติกรรม
ติดตามและประเมินผลการตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายบกพร่อง
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่อง
วิธีการเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ
ปฏิบัติตัวไม่เหมาะสมกับบทบาทของตน
ไม่สามารถทำตามบทบาทหน้าที่ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการเผชิญปัญหาของครอบครัวไม่มีประสิทธิภาพ
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ
การประเมินผล
พฤติกรรมต่างๆที่เป็นปัญหาลดลงหรือไม
เด็กสามารถควบคุมตนเองได้ดีเพียงใด
ต้องมีการประเมินผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้หรือไม
คุณภาพชีวิตดีขึ้นหรือไม่
ลักษณะอาการและอาการแสดง
อาการขาดสมาธิ
ตั้งแต่ 6 อาการขึ้นไป
ไม่สนใจฟังเวลาที่พูดด้วยโดยตรง
ไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
ไม่มีสมาธิในการทำงานหรือการเล่น
ีปัญหาในการวางแผนเกี่ยวกับงานหรือการทำกิจกรรมต่างๆ
ไม่สามารถจดจำรายละเอียด หรือขาดความรอบคอบ
หลีกเลี่ยง ไม่ชอบ หรือลังเลที่จะทำงาน
อาการซน ไม่อยู่นิ่ง และอาการหุนหันพลันแล่น
ตั้งแต่ 6 อาการขึ้นไป
ไม่สามารถเล่นหรือเข้าร่วมในกิจกรรม
มีปัญหาในการรอคอยให้ถึงตาตนเอง
วิ่งไปทั่วหรือปีนป่ายสิ่งต่างๆ
จะขัดจังหวะ หรือสอดแทรกผู้อื่น
ลุกจากที่นั่งบ่อยๆ
จะพูดมาก พูดไม่หยุด
มีอาการกระวนกระวาย กระสับกระส่าย
สาเหตุ การบำบัดรักษา
การบำบัดรักษาโรคซนสมาธิสั้น
การรักษาโดยการปรับพฤติกรรม
และการรักษาทางจิตสังคม
การให้ความช่วยเหลือเด็ก
ขณะอยู่ที่โรงเรียน
ให้คำแนะนำคุณครูเกี่ยวกับโรค ADHD
ให้คำแนะนำคุณครูเกี่ยวกับเทคนิคต่างๆ
ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กขณะอยู่ที่โรงเรียน
การฝึกอบรมพ่อแม่
ในการดูแลเด็ก ADHD
การให้ความรู้แก่พ่อแม่เกี่ยวกับโรคและวิธีการบำบัด
ให้คำแนะนำพ่อแม่และบุคคลอื่นในบ้าน
สอนเทคนิคต่างๆ ในการปรับพฤติกรรม
ให้คำแนะนำพ่อแม่ในการจัดสิ่งแวดล้อม
การให้ความช่วยเหลือ
โดยมุ่งเน้นที่ตัวเด็กเป็นสำคัญ
การช่วยเหลือเป็นพิเศษในเด็กที่มีปัญหาทางด้านการเรียน
การบำบัดทางจิตเป็นรายบุคคล
การฝึกทักษะทางสังคม
การรักษาทางยา
การรักษาด้วยยา psychostimulants
การรักษาโดยกลุ่มยาต้านเศร้า (antidepressants)
การรักษาโดยกลุ่มยา alpha-adrenergic agonist
การรักษาโดยกลุ่มยารักษาอาการทางจิต (antipsychotics)
สาเหตุของโรคซนสมาธิสั้น
ปัจจัยก่อนคลอด
หญิงตั้งครรภ์ 3เดือนแรก (first trimester) มีการติดเชื้อ
มีการเสพสุรา ยาเสพติดและ/หรือสูบบุหรี่
การคลอดก่อนกำหนด (prematurity) หรือ
การที่เด็กขาด oxygen ระหว่างคลอด
ปัจจัยทางจิตสังคม
ไม่ได้รับความอบอุ่นเป็นระยะเวลานานๆ
การที่ครอบครัวของเด็กขาดความสมดุล
ในครอบครัว
เหตุการณ์ที่ทำให้เด็กรู้สึกเครียด
ปัจจัยทางชีวภาพ
กายวิภาค สรีรวิทยา ของระบบประสาท
สารเคมีของระบบประสาท
พันธุกรรม
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
การรับประทานสารตะกั่ว
วัสดุที่ใช้ในการ
แต่งกลิ่นแต่งสีหรือที่ใช้ในการถนอมอาหาร
การสูดหายใจอากาศที่มีมลภาวะเป็นพิษ
ปัจจัยอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้อง
มาตราฐานของสังคมใน
เรื่องเกี่ยวกับความประพฤติและการกระทำ
อารมณ์ของเด็ก
นางสาวอรอุมา มะลัยคำ รหัสนักศึกษา 180101026