Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
case study conference ผู้ป่วยชายไทย อายุ 57 ปี - Coggle Diagram
case study conference
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 57 ปี
อาการแรกรับ
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ช่วยเหลือตัวเองได้บนเตียงปวดต้นขาขวา มีแผลที่นิ้วเท้าหัวแม่เท้าซ้าย on slsไว้ มีแผลถลอกใบหน้าและตามตัว
อาการสำคัญ
ปวดบวมผิดรูปต้นขาขวา มีแผลเปิดนิ้วหัวแม่เท้าซ้าย มีแผลถลอกใบหน้าและตามตัว 7ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
การวินิจฉัยโรค
CFX Rt basicervical femoral rack
กระดูกหักและข้อเคลื่อนรอบข้อสะโพก
การผ่าตัด
1 DB with SLS ( 6/12/2563)
2 bipolar hemiarthroplasty Rt (10/12/2563)
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
7 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ปวดบวมผิดรูปที่ต้นขาขวา มีแผลเปิดนิ้วเท้าข้างซ้ายมีแผลถลอกตามใบหน้าและลำตัว
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
20ปี ก่อน ผ่าตัดไตขวาออก ไตแตก เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพะเยา
3ปี ผ่าตัดนิ้วเท้า3,5 นิ้วเท้าข้างซ้าย เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพะเยา
4เดือนก่อน รักษา Blood pressuer LDL และ GOUT ที่โรงพยาบาลพะเยา
ข้อมูลแบบแผนสุขภาพ
1.การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
การเสพสิ่งเสพติด
สูบบุหรี่ 3มวน / วัน เป็นเวลา 30ปี ดื่มสุรา1ขวด/วัน เป็นเวลา 30 ปี ปัจจุบัน ปัจจุบันยังไม่เลิกเสพ
2.ภาวะโภชนาการและเมตาบอลิซึม
อาหารที่รับประทาน 3 มื้อ / วัน
งดการรับประทานอาหารสัตว์ปีก
น้ำดื่ม 1 แก้ว / วัน
3.การขับถ่าย
การขับถ่ายอุจจาระ ขับอุจจาระ 1-2 ครั้ง/วัน
การขับถ่ายปัสสาวะ 3-4 ครั้ง/วัน
7.การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
การเจ็บป่วยครั้งนี้มีผลกระทบต่อผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้มีผลกระทบต่อความสามารถในการทำกิจวัตรต่าง ๆ ผลกระทบต่ออารมณ์ หงุดหงิด
13 การประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
มี 6 คะแนน เสี่ยงระดับสูง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
แผนการพยาบาลวันที่ 14 ธันวาคม 2563
ระยะฟื้นฟูสภาพ
1 เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ เนื่องจากเคลื่อนไหวร่างกายได้เล็กน้อย
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดแผลกดทับ
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผิวหนังไม่มีรอยแดงถลอกหรือฉีกขาดของผิวหนัง
3.ประเมินระดับความเจ็บปวดไม่เกิน 3 คะแนน
2.ผิวหนังชุ่มชื้นและมีความยืดหยุ่นดี
กลไกการเกิดปัญหา
การได้รับบาดเจ็บที่ผิวหนังหรือเนื้อเยื่ออันเกิดจากแรงกดทับที่ผิวหนังเป็นเวลานาน ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวหรือการปรับเปลี่ยนอิริยาบถทำให้ต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเสี่ยงเกิดแผลกดทับได้
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสภาพผิวหนังโดยกรสังเกตว่ามีรอยแดงหรือรอยกดทับหรือไม่
2.แนะนำญาติให้ช่วยเหลือผู้ป่วยพลิตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
3.ดูแลผ้าปูที่นอนให้สะอาดและเรียบตึงอยู่เสมอ
แผนการพยาบาลวันที่ 15 ธันวาคม 2563
ระยะฟื้นฟูสภาพ
2.เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยไม่มีไข้ < 37.5 องศาเซลเซียส
2.ไม่มีอาการบวมแดง สิ่งขับหลั่งออกจากแผลผ่าตัด
check vital signs เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงทุกๆ 4 ชั่วโมง
กิจกรรมการพยาบาล
1.สังเกตบริเวณแผลผ่าตัดที่สะโพกเกี่ยวกับอาการปวดบวมแดง
2.ดูแลให้แผลผ่าตัดสะอาดและไม่ให้เปียกน้ำ
3.ให้ยาปฎิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์และสังเกตอาการข้างเคียงของยา คือยา cefazolin 1 gm IV q 6 hr (6 12 18 24)
แผนการพยาบาลวันที่16 ธันวาคม 2563
ระยะฟื้นฟูสภาพ
3.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเครียด
วัตถุประสงค์
1.ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะเครียด
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะเครียดโดยจากการสังเกตจาก
1.สีหน้าท่าทางผ่อนคลาย
2.การพักผ่อนของผู้ป่วยปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและญาติ
-เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติระบายความรู้สึกที่ทำให้ไม่สบายใจ รับฟังอย่างตั้งใจ
2.ดูแลทางด้านจิตใจ เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและหาสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจตามความเหมาะสม
3.สร้างความมั่นใจให้กับผู้ป่วย
4.ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผล
วัตถุประสงค์
มีความสุขสบาย ปวดแผลลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
Pain score < 7
1-2 ปวดแผลเล็กน้อย
3-4 ปวดปานกลาง
5-6 ปวดมาก
7-8 ปวดมากๆ
9-10 ปวดมากที่สุด
Pain score < 7
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินลักษณะอาการปวดโดยสอบถาม Pain score ลักษณะการปวด
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
3.จัดท่านอนให้ขาข้างที่มีแผลยกสูงจากพื้นโดยใช้หมอนรอง
5.เสี่ยงต่อข้อสะโพกเทียมเคลื่อนหรือหลุดไปข้างหลัง
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดการเคลื่อนหรือหลุดของข้อสะโพกเทียมไปด้านหลัง
เกณฑ์การประเมินผล
1.ข้อเทียมอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง
2.ความยาวของขาทั้ง2ข้างเท่ากัน
3.ข้อสะโพกไม่มีอาการบวม
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินภาวการณ์เคลื่อนหลุดของข้อสะโพกเทียมได้แก่ ปวดบวมบริเวณต้นขา
2.จัดท่านอนให้ถูกต้องโดยขาข้างที่ผ่าตัดให้พักในท่ากางขาออก ประมาณ 30 องศาเสมอโดยเอาหมอนวางระหว่างขาทั้ง2ข้าง
แผนการพยาบาลวันที่ 17 ธันวาคม 2563
ระยะฟื้นฟูสภาพ
6.เสี่ยงต่อการเกิดไตวายเฉียบพลันเนื่องจากดื่มน้ำน้อย
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดไตวายเฉียบพลัน
เกณฑ์การประเมินผล
1.ค่า Creatinine อยู่ในระดับ 0.8-1.2 mg/dl
eGFR อยู่ในระดับปกติ ไม่ต่ำกว่า 90
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วย
2.ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามอัตราที่กำหนด
3.ประเมินความสมดุลของน้ำและบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออก