Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 I พ.ศ.2562 : - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
พ.ศ.2551 I พ.ศ.2562 :
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
พ.ศ.2551 6 หมวด 54 มาตรา
หมวดที่ 1คณะกรรมการ
คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ ม.5 - ม.11
ประธานกรรมการ : นายก/รองนายก
รองประธาน : รมต.สาธารสุข
กรรมการโดยตำแหน่ง : ex.ปลัดกระทรวงอื่นๆ
ผู้แทนองค์กรภาคเอกชน 6 คน
เลขานุการ : อธิบดีกรรมสุขภาพจิต
ผู้ทรงคุณวุฒิ
หน้าที่
เสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนสุขภาพจิตระดับชาติกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารทางสื่อสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์
คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา ม.12 - ม.14
จิตแพทย์ แพทย์ทั่วไป พยาบาลจิตเวช
(ป.โท/เฉพาะทาง) , นักกฎหมาย นักจิตวิทยาคลินิก/นักสังคมสงเคราะห์ (วาระดำรงตำแหน่ง 3 ปี)
หมวด 2 สิทธิผู้ป่วย
(ม.15 - ม.20)
(ม.15)
1.ได้รับการบำบัดตามมาตรฐานทางการแพทย์โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2.ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยไว้เป็นความลับ
3.ไดรับการคุ้มครองจากกการวิจัยตามมาตรา 20
4.คุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคมของรัฐอย่างเสมอภาค
(ม.16) ห้ามิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของPt. ในประการที่น่าจะทำให้เกิดความเสียหายแก่Pt. เว้นแต่
1.กรณีที่อาจเกิดอันตรายต่อ Pt / ผู้อื่น
2.เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน
3.มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
*ผู้ป่วยได้รับการปกปิดข้อมูลต่อสาธารณชนมากขึ้น
ฉบับ 2 ปีพ.ศ. 2562
มาตรา 16/1 การเปิดเผยข้อมูลต้องไม่ทำให้เกิดความเสียหายแก่จิตใจ
มาตรา 16/2 กรณีไม่ปฏิบัติตาม 16/1 ให้อธิบดีมีอำนาจออกคำสั่งให้ผู้เผยแพร่ดำเนินการ
แก้ไขข้อความ,ระงับการเผยแพร่,เผยแพร่ข้อมูลเพื่อแก้ไขความเข้าใจผิด
(ม.17) การผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้
(ม.18) การรักษาจิตเวชด้วยไฟฟ้า
(ม.19)การทำหมัน
(ม.20) การวิจัยที่กระทำกับผู้ป่วย
หมวดที่ 3
การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่ 1 ผู้ป่วย (ม.21 - ม.34)
ม.21 การบำบัดรักษาจะกระทำได้ต่อเมื่อ Pt.ได้รับการอธิบายเหตุผลในการรักษาและได้รับการยินยอมกรณี Pt.อายุไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์/ขาดความสามารถในการตัดสินใจให้
คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง เป็นผู้ให้ความยินยอมตามวรรคสองแทน
(Pt.หรือญาติต้องลงนามยินยอมรับการรักษายกเว้นกรณีบังคับรักษาตาม ม.22 หาก Pt. และญาติไม่ยินยอมรับการรักษา สถานบำบัดก็สามารถดำเนินการรักษาได้)
ม.22 (1) มีภาวะอันตราย
(2) มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
ม.23
ผู้ใดพบบุคคลมีพฤติกรรมสงสัยว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิต
ม.24
พนักงาน เจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจ
ม.27
สถานบำบัดรักษาใกล้ที่สุด แพทย์ 1 คน พยาบาล 1 คน
ตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้นภายใน 48 ชม.
ม.26
กรณีฉุกเฉิน พนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครอง/ตำรวจ
ม.25
ผู้รับผิดชอบดูแล สถานที่คุมขัง สถานสงเคราะห์ พ บ
ม.29
คณะกรรมการ สถานบำบัดรักษา
ประเมินโดยระเอียด
ม.29 (1) ต้องเข้ารับการรักษาในสถานบำบัด
(ม.30 ไม่เกิน 90 วัน)
ม.34 สั่งย้ายสถานบำบัด
ม.33 ถ้าหลบหนีให้ประสานงานกับ จนท.ปกครองตำรวจและญาติ
ม.32 กรณี ม.29(2) Pt.ไม่ยอมหรือรักษาไม่ได้ผล
ม.29(2) Pt.ไม่มีภาวะอันตรายแต่ต้องรับการบำบัด ณ สถานที่อื่น
ม.40 กรณี Pt.ดูแลตนเองไม่ได้ ไม่มีใครดูแล หัวหน้าสถานบำบัดรักษาแจ้งหน่วยสังคมสงเคราะห์
ม.31
ถ้าอาการดีให้แพทย์ผู้รักษาจำหน่ายPt. และ รายงาน
ม.28
แพทย์พบ
ส่วนที่ 2 ผู้ป่วยคดี ม.35
พนักงานสอบสวนหรือศาลส่งผู้ต้องหาหรือจำเลย ป.วิอาญา ม.14 ให้สถานบำบัดรักษาจิตแพทย์ตำรวจวินิจฉัยความผิดปกติทางจิตและทำความเห็น รายงานภายใน 45 วันแก่พนักงานสอบสวนหรือศาล และขอให้กำหนดวิธีการเพื่อป้องกันการหลบหนีหรืออันตรายที่จะเกิดขึ้น
ส่วนที่ 3 การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ม.40 ให้ผู้รับดูแล Pt.มีสาธิได้รับบริการให้คำปรึกษา แนะนำ ฝึกอบรมทักษะการจัดการศึกษาและการส่งเสริมอาชีพ
ม.41/1 ให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพของ Pt.ให้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมอย่างสงบสุข
*การดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประการกำหนด
หมวด 5 พนักงานเจ้าหน้าที่ (ม.46 - ม.49)
ม.46
เข้าไปในเคหสถาน
ซักถามบุคคลใดๆ
มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดๆ มาเพื่อให้ถ้อยคำส่งคำชี้แจงเป้นหนังสือหรือส่งเอกสาร
*(ญาติมีหน้าที่ใหความร่วมมือและให้ข้อมูลกับเข้าหน้าที่ที่ไปรับตัวผู้ป่วยมาบำบัดรักษา)
ม.47 พนักงานเจ้หน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ม.48 ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องอำนวยความสะดวกตามสมควร
ม.49 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป้นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวดที่ 6
บทกำหนดโทษ (ม.50 - ม.53)
ม.50 ผู้ใดฝ่ายฝืนมาตรา 16 "เปิดเผยความลับ" จำคุกไม่เกิน 1 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
พ.ศ.2562 ม.50/1 "เผยแพร่ข้อมูลทางสื่อสิ่งพิมพ์" ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามำสั่งตาม ม.16/2 ต้องระวังโทษจำคุกไม่เกิน 1ปีหรือปรับไม่เกิน 100,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ม.51 ผู้ใดแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ ตาม ม.23 โดยมีเจตนากลั่นแกล้งเกิดความเสียหายแก่ผู้ใดผู้หนึ่ง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
ม.52 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหนังสือของพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม ม.46(3) จำคุกไม่เกิน 6 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท
ม.53 ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม ม.48 จำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท
เจตนารมณ์
เพื่อคุ้มครองสิทธิของ Pt ญาติ และผู้ดูแล ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ได้รับการบำบัดรักษาเท่าเทียมกับการเจ็บป่วยทางกาย สังคมได้รับความปลอดภัย
ส่งเสริมสุขภาพจิตของปชช. เป็นการป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
เหตุผลที่ต้องมีกฎหมาย
บุคคลมีปัญหาสุขภาพจิตมากขึ้น
เข้าถึงบริการสุขภาพจิตไม่ครอบคลุม
ปชช ขาดความรู้และทัศนคติด้านลบต่อ Pt.จิต > ไม่ได้รับการรักษา
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกระจัดกระจาย ยังไม่นำไปสู่การปฏิบัติเดียวกัน
ประเด็นสำคัญที่นำมาเป็นกรอบในร่างพระราชบัญญัติสุขภาพจิต
1.มาตรการบังคับรักษา
พ.ศ. 2551 > 2 ประการ
1) บุคคลนั้นมีภาวะอันตราย
2) มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษาบุคคลนั้นขาดความสามารถในการตัดสินใจ
2.การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
Pt.จิตเวชเป็นกลุ่มอ่อนด้วยจึงได้รับการดูแลเป็นพิเศษ
1) การบำบัดรักษาจะทำได้ก็ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจาก Pt. เว้น Pt. ขาดความสามารถในการตัดสินใจ
2) ปกปิดข้อมูลการเจ็บป่วยไว้เป็นความลับ เว้นมีเหตุผลพิเศษ
3) สิทธิที่จะได้รับการบำบัดรักษาตามมาตราฐานทางการแพทย์
3.การอุทรณ์
ในกรณีที่คณะกรรมการสถานบำบัดรักษามีคำสั่งให้ผู้ป่วยต้องเข้ารับการบำบัดรักษา มีคำสั่งให้ผู้ป่วยต้องเข้ารับการบำบัดรักษา ให้ผู้ป่วยหรือผู้มีอำนาจทำการแทนผู้ป่วยแล้วแต่กรณีมีสิทธิอุทธรณ์ป็นหนังสือต่อคณะกรรมการสุขภาพจิตในระดับสูงขึ้นได้
ความผิดปกติทางจิต
แสดงผ่านพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด ความจำอสติปัญญา ประสาทการรับรู้ หรือเกิดจากสุราหรือสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
สภาวะอันตราย
พฤติกรรมที่บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตแสดงออกที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน
ความจำเป็นที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา
Pt. ขาดความสามารถในการตัดสินใจ ให้ความยินยอมและต้องได้รับการบำบัดรักษาโดยเร็วเพื่อป้องกันบรรเทาไม่ให้เกิดความรุนแรงมากขึ้น
ประเด็นสำคัญ
เป็นพระราชบัญญัตที่ใช้กับสถานพยาบาลของรัฐ
บังคับรักษาในผู้ป่วยจิตเวชที่มีภาวะอันตรายหรือจำเป็นต้องรักษาและไม่ยินยอมรับการรักษา
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตฉบับที่ 2 พ.ศ.2562
ประกาศใช้ 16 เมษายน 2562
เพิ่มเติมการส่งเสริมป้องกันด้านสุขภาพจิต ควบคุมปัจจัยคุกคาม ด้านสุขภาพจิต ฟื้นฟูสมรรถภาพ และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
เพิ่มสิทธิให้ผู้ดูแลเพื่อสามารถให้ดูแลผู้ป่วย > อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
เพิ่มหน้าที่ใหคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ เสนอยุทธศาสตร์ แผนการ
กำหนดห้ามสื่อทุกประเภทเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าทางใด
สาระสำคัญตาม พ.ร.บ สุขภาพจิต พ.ศ.2551
สังเกตอาการทางจิตของ Pt.ดังนี้
หูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระแวงไร้เหตุผล
พูดจาเพ้อเจ้อ พูดจาก้าวร้าว
คำว่าตนเองมีความสามารถพิเศษเหนือคนปกติ
แต่งกายแปลกกว่าคนปกติ
มีแนวโน้มจะมีอันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม
พบเห็น
กรณีไม่เร่งด่วน : 1323
กรณีเร่งด่วน : อันตราย โทร 1669 หรือ 191
แจ้งบุคคลหรือหน่วยงาน
บุคลากรทางการแพทย์
ตำรวจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.) มูลนิธิกู้ภัย อบต เทศบาล
ประชาชน ชุมชน และสังคม
ช่วยกันดูแล ติดตามให้ผู้ป่วยกินยาอย่างต่อเนื่อง
เฝ้าระวัง สังเกตอาการ หากผิดปกติหรืออาการกำเริบให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่
ให้กำลังใจผู้ป่วย และสนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาชุมชนได้
-ร่วมพิทักษ์สิทธิผู้ปวย จากการถูกเอาปรียบจากสังคม
ส่งเสริมอาชีพ หางานอดิเรกให้ทำ เพื่อฝึกสมาธิ และให้ผู้ป่วยมีรายได้