Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายและแผนพัฒนาสาธารณสุข, นางสาววณิชญา เคลือบคนโท เลขที่ 63 รหัสนักศึกษา…
นโยบายและแผนพัฒนาสาธารณสุข
สภาพปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
ถ้าประชากรวัยทำงานน้อย อัตราพึ่งพิงจะสูง
ถ้าผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น
ภาระค่าใช้จ่ายทางสุขภาพเพิ่มขึ้น
ผู้สูงอายุอายุยืนยาวขึ้น
อัตรป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
อัตราการตายน้อยลง
ติดบ้าน ติดเตียงมากขึ้น
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
เราใช้ยะมูลฝอยวันละประมาณ 1.18 kg/คน/ วัน
ใช้สารอันตรายโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม
มลพิษทางอากาศ เช่น PM 2.5
สภาพภูมิอากาศของโลกเปลี่ยนทำให้เกิดปัญหาเรื้อรัง
เกิดโรคติดต่อในคนและสัตว์
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทำให้มีโรคระบาดจากอาหารและน้ำไม่สะอาด
เชิงบวก คือ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
Stem cell
หุ่นยนต์ทางการแพทย์ เช่น Davichi
การเชื่อมต่อไร้พรมแดน
คนไทยมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเพิ่มขึ้น
อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดีเพิ่มขึ้น
โรคที่มีอุบัติการณ์ลดลง คือพวกโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
โรคที่มีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้น ได้แก่ โรคไม่ติดต่อ
โรคอุบัติใหม่ ได้แก่ Covid -19
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ส่วนหนึ่งมาจากแรงงานต่างชาติ
หนองใน
แผลริมอ่อน
ซิฟิลิส
วัณโรค
ฝีมะม่วง
สภาพสังคม
แม่วัยรุ่น
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น
IQ เด็กไทย
ปัญหายาเสพติด
ผู้พิการ
สาเหตุการตาย/แสนประชากร
มะเร็ง
หลอดเลือดสมอง
หัวใจขาดเลือด
อุบัติเหตุทางถนน
เบาหวาน
การตายที่มีแนวโน้มสูงขึ้น
อุบัติเหตุ
ทำร้ายตนเอง
จมน้ำ
พลัดตกหกล้ม
นโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรม ความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ(Service Exellence)
อัตราส่วนเตียงต่อประชากรรวมทั้งประเทศและการกระจายระหว่างพื้นที่
ระยะเวลารอคอยที่ OPD ลดลงร้อยละ 30
จำนวนศูนย์แพทย์เฉพาะทาง 4 สาขาหลัก(มะเร็ง หัวใจ อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด) 12 เขต
อัตราการส่งต่ออกนอกเขตสุขภาพลดลงร้อยละ 50
ความครอบคลุมของหน่วยบริการปฐมภูมิที่มีทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวร้อยละ 100
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ (People Exellence)
สัดส่วนของแพทย์ต่อประชากรระหว่างพื้นที่แตกต่างกันไม่เกินร้อยละ 20
ขีดความสามารถของบุคลากรด้านสาธารณสุข
ระดับความสุขในการปฎิบัติงานของบุคลากรด้านสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
อัตราส่วนกำลังคนด้านสุขภาพต่อประชากร
เภสัชกร 1 : 3500
ทันตแพทย์ 1 : 6500
แพทย์ 1 : 1800
พยาบาลวิชาชีพ 1 : 400
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก (P&P Exellence)
อัตราเสียชีวิตจากบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 16 ต่อแสน
อัตราตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCD ลดลง
EQ เด็กไทยสูงกว่าคะแนนมาตรฐานร้อยละ 70
อัตราของ Healthy Ageing เพิ่มขึ้น (ADL > 12คะแนน)
IQเฉลี่ยเด็กไทยไม่ต่ำกว่า 100
อัตราเจ็บป่วยต่อผลิตภัณฑ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมลดลง
ระดับพัฒนาการเด็กไทยสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทยเพิ่มขึ้น
พฤติกรรมสุขภาพของคนไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ5
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
ระดับการใช้ประโยชน์ได้ทั้งการบริหารจัดการและการบริการของประชาชน ของระบบข้อมูลสุขภาพ ครอบคลุมประเด็นข้อมูลสำคัญ
จำนวนผลงานวิจัย นวัตกรรม ด้านสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ITA(Integrity and Transparency Assesment)
สัดส่วนมูลค่าการนำเข้ายาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพไม่เพิ่มขึ้น
แนวทางการแก้ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
Service Exellence
แผนงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แผนงานการพัฒนาระบบบริการกการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
แผนงานการพัฒนาระบบแพทย์ปฐมภูมิ
แผนการพัฒนาตามโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และพื้นที่เฉพาะ
แผนงานอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การท่องเที่ยว สุขภาพและความงามและแพทย์แผนไทย
Governance Exellence
แผนงานการพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรณ์คุณภาพ
P&P Exellence
แผนงานการป้องกันการควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
แผนงานบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
People Exellence
แผนงานการพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
นโยบาย 9 ด้าน
โครงการพระราชดำริ
ธรรมภิบาล
กัญชาทางการแพทย์
พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
อาสาสมัครสาธารณสุข
พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับ
สมุนไพรทางการแพทย์
นวัตกรรมและความเป็นเลิศทางการแพทย์
การดูแลสุขภาพประชาชนแบบองค์รวม
นางสาววณิชญา เคลือบคนโท เลขที่ 63 รหัสนักศึกษา 61121301067