Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
DX.CA both breast เพศหญิง อายุ 70 ปี :<3: - Coggle Diagram
DX.CA both breast
เพศหญิง อายุ 70 ปี
:<3:
ประวัติ-ตรวจร่างกาย :red_flag:
เพศหญิง อายุ 70 ปี
admitที่รพ.มะเร็งชลบุรี :11/2/64 เวลา 14.01น.
หอผู้ป่วยวิกฤตและศัลยกรรม(ICU) เตียง ญ10
วันที่รับไว้ในความดูแล:
15/2/64-16/2/64
V/S
14/2/64
14.00น.
BP 170/100mmHg.
Hypertension
วิตกกังวล
S :ผู้ป่วยบอกว่า "เป็นห่วงสามีที่เตรียมการผ่าตัดโรคหัวใจอยู่ที่รพ.ศิริราชและกลัวการผ่าตัดในวันพรุ่งนี้"
T 36.10 °C
PR 68 b/min
RR 18 b/min
V/S
15/2/64
11.45 น.
on oxygen cannula 3 LMP,
O2 sat 99%,PR18b/min,
Pain score 7
ให้ MO 2 mg.
12.00 น.
on oxygen cannula 3 LMP,
O2 sat 100%,PR18b/min,
Pain score 3
12.15 น .
on oxygen cannula 3 LMP,
O2 sat 100%,PR18b/min,
Pain score 3
12.30 น.
on oxygen cannula 3 LMP,
O2 sat 100%,PR18b/min,
Pain score 3
รู้สึกตัวดี,ไม่มีอาการหน้ามืดวิงเวียนศีรษะ,ปวดแผลผ่าตัด
V/Sแรกรับ
11/2/64
BP 156/86 mmHg.
T 36.40 °C
RR 18 b/min
O2 sat 99%
PR 70 b/min
รู้สึกตัวดี,ไม่ปวดศีรษะ,ไม่ปวดก้อน
Primary Dx : Breast milignant neoplasm,unspcified
Dx.CA both breast
MRM both breast
หลังผ่า
on Jackson drain
Rt. 2 bottle Lt. 2 bottle
at breast
14.00 น.
เลือดแดงสด,ไม่มี clot,
ไม่มีเลือดซึมบริเวณ gauze
การตั้งครรภ์:ไม่ตั้งครรภ์
ประวัติแพ้ยา : PIROXICAM :warning:
สถานภาพ:สมรส, ศานา:พุทธ, อาชีพ: - ,
รายได้ 37,000บาท/เดือน(บำนาญ),
ระดับการศึกษา:ป.ตรี
U/D
15 ปี รับยาที่รพ.บางละมุง
HT
Atenolol (50)1*1
DLP
Simvastatin (20)1*1
ประวัติผ่าตัด
10 ปีที่แล้ว ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเสื่อม (TKA)
น้ำหนัก 88 kg.,ส่วนสูง 157 cm.,BMI 35.70
อ้วนมาก
CC
case Bilat CA breast
bx: IDCA both แพทย์นัดผ่าตัด
Pl
3 เดือนมีก้อนที่เต้านมซ้ายไม่โต รักษารพ.เมืองพัทยา
Mammogram
24/12/63
BIRAD 4 lymhanophathy both axillary CN
referรักษาCCHที่รพ.มะเร็งชลบุรี
CXR : bronchitis at both lower lobes
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : -
Pathology :star:
ปัจจัยส่งเสริมก่อโรค
เพศหญิง อายุ 70 ปี (>40ปี) ที่เพิ่มขึ้น
โรคอ้วน BMI 35.70 + menopause
เซลล์ไขมันสร้าง hm. estrogen↑
รับประทานไขมันมาก-ใยอาหารต่ำ
S : ผู้ป่วยบอกว่า "ชอบรับประทานของทอด เช่น หมูทอด และไม่ชอบกินผักเป็นประจำ"
U/D : DLP
Epithelium
BRCA1 บนโครโมโซมคู่ที่17,BRCA2บนโครโมโซมคู่ที่11เกิด Mutation
ductal carcinoma .
Bilateral breast cancer
ข้อวินิจฉัยทาง
การพยาบาล :pencil2:
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน(ภาวะแขนบวม ข้อไหล่ติด แผลติดเชื้อ) เนื่องจากการไหลกลับของต่อมน้ำเหลืองถูกอุดกั้นหลังการผ่าตัด MRM
(Modified Radical Mastectomy)
Patho
MMRผ่าตัดเต้านม+กล้ามเนื้อpectoralis minor+ต่อมน้ำเหลืองใต้รักแร้ทั้งหมด
น้ำเหลืองไหลเวียนผิดปกติ
ไหลกลับเข้า vein ที่ทรวงอก ↓+ผังผืดผ่าตัด
น้ำเหลืองคั่งที่โคนแขน แขน นิ้ว เกิดภาวะบวม
Lymphedema
ข้อไหล่ติด
เป้าประสงค์
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
(ภาวะแขนบวม ข้อไหล่ติด แผลติดเชื้อ)
บริเวณข้างที่ตัดผ่า
เกณฑ์ประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีภาวะบวมที่บริเวณโคนแขน แขนและนิ้ว
ผู้ป่วย sign infection ที่บริเวณแผลผ่าตัด เช่น มีไข้ ปวด บวม แดง ร้อน
ผู้ป่วยไม่มีข้อไหล่ติด
การพยาบาล
ประเมินภาวะบวมที่บริเวณโคนแขน แขนและนิ้ว เพื่อประเมินภาวะบวม
ประเมิน sign infection ที่บริเวณแผลผ่าตัด เช่น มีไข้ ปวด บวม แดง ร้อน เพื่อประเมินการติดเชื้อ
หากพบว่ามีอาการแขนบวม ให้นวด/พันผ้ายืดไล่จากปลายนิ้วขึ้นไปหาต้นแขน เพื่อเพิ่มการไหลเวียนน้ำเหลือง
บริหารแขนและไหล่ เพื่อป้องกันภาวะข้อไหล่ติด
ท่า1 ยกไหล่ขึ้น-ลง
ท่า2 ห่อไหล่มาด้านหน้า-แบะไหล่ไปด้านหลัง
ท่า3 หมุนไหล่เป็นวงกลม
(ทั้งในท่าเหยียดแขนและงอศอกท่าใดท่าหนึ่งที่สามารถทำได้)
ท่า4 ยกแขนไปด้านหน้า
เหยียดแขนไปด้านหลัง
ท่า5 ยืนหันหน้าเข้าหากำแพง วางฝามือบนผนัง ค่อยๆไต่ผนังจนรู้สึกตึงเล็กน้อย แล้วกลับสู่ท่าตั้งต้น
แนะนำให้นอนยกแขนซ้ายสูงกว่าระดับหัวใจโดยใช้หมอน 1 ใบรองแขนตั้งแต่
แขนถึงหัวไหล่
เพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดและน้ำเหลือง
หลีกเลี่ยงวัตถุรัดแขนข้างที่ทำการผ่าตัด เพื่อลดการอุดตันการไหลเวียนน้ำเหลืองเข้าสู่หลอดเลือดดำบริเวณทรวงอก
หลีกเลี่ยงการวัดBP/ฉีดยาแขนข้างที่ทำการผ่าตัด
ผ่าตัด MRM การไหลเวียนเลือดไม่ดี
ติดตามและประเมินผล
หากพบ sign อักเสบ ปวด บวม แดง ร้อน ให้รายงานแพทย์
ข้อมูลสนับสนุน
O : BMI 35.70 อ้วนมาก
น้ำเหลือง↑
S : ผู้ป่วยบอกว่า "เจ็บบริเวณแผลผ่าตัด ไม่กล้ายกแขน"
movement↓,
การไหลเวียนน้ำเหลือง↓
O : Mammogram : BIRAD 4 lymhanophathy both axillary CN
O : MRM both breast
การประเมินผล
ปวดแผลเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับความกระทบกระเทือนจากการผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
15/2/64 เวลา 11.50 น.
S : ผู้ป่วยบอกว่า "ปวดบริเวณแผลผ่าตัด"
S : Pain score 7
O : หน้านิ่ว คิ้วขมวด
Patho
ผ่าตัด bilat MRM
เนื้อเยื่อ-เส้นประสาทถูกทำลาย
↑prostaglandin,histamine
Central sensitization
A delta
C-fiber
1 more item...
เป้าประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถคุมอาการปวดได้
เกณฑ์ประเมิน
ผู้ป่วยไม่แสดงอาการปวดทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
สีหน้าแจ่มใส ไม่คิ้วขมวด
V/S ปกติ
T 36.5-37.4
RR 16-20 b/min
HR 60-100 b/min
BP 90/60-120/80mmHg.
O2 sat > 95
การพยาบาล
ประเมินความปวด pain score ตำแหน่งที่มีการปวด ปัจจัยส่งเสริมการปวด เพื่อประเมินปัญหา ความรู้สึกและความรุนแรงของอาการปวด
ประเมินความสามารถและวิธีควบคุมความเจ็บปวดที่ผ่านมา เพื่อหาแนวทางในการเลือกวิธีลดความปวดให้เหมาะสม
เบี่ยงเบนความสนใจ เช่น ชวนคุย จัดหาหนังสือที่ผู้ป่วยชื่นชอบให้ผู้ป่วยอ่าน ฟังดนตรี เป็นต้น เพื่อส่งเสริมให้รู้สึกสุขสบาย ลดสิ่งกระตุ้นที่ทำให้รู้สึกปวด
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด MO 3 mg iv prn q 8 hr. เพื่อลดอาการปวดตามแนการรักษา
สังเกตและเฝ้าระวัง S/E
ของ MO
ตามัว อาเจียน สั่น
หัวใจเต้นผิดปกติ
หากพบอาการผิดปกติ
ให้รายงานแพทย์
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดคุยระบายความรู้สึก เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจต่อการเจ็บปวด
ติดตาม ประเมินและบันทึกเพื่อนำมาปรับแผนการพยาบาลให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของปัญหา
ประเมินผล
เสี่ยงต่อภาวะ hypovolemic shock เนื่องจากมีแผลผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
O : bilat MRM
O : on jackson drain
Patho
ผ่าตัดMRM
เนื้อเยื่อถูกทำลาย
เสียเลือดขณะผ่าตัด>หลังผ่าตัด
↓ venous
↓ stroke volume
↓ CO
2 more items...
เป้าประสงค์
ป้องกันภาวะเสี่ยง hypovolemic shock หลังผ่าตัด MRM
เกณฑ์ประเมิน
ไม่มีเลือดซึมบริเวณแผลผ่าตัด
เลือดในขวด jackson drain รวมกันทุกขวด < 200 cc/hr.
V/S ปกติ
T 36.4-37.5
HR 60-100 b/min
RR 16-20 b/min
BP 90/60-120/80mmHg.
O2 sat > 95
การพยาบาล
บันทึก V/S ทุก 4 ชม.
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 5% D/N/2 1000cc iv rate 80 ml/hr ตามแผนการรักษา
สังเกตเลือดออกบริเวณแผลผ่าตัด หากเลือดออกมากขึ้นและขอบเขตขยายกว้างรวดเร็ว รายงานแพทย์
ลักษณะสีเลือดแดงสด
คล้ำหรือไม่
ปริมาณเลือดที่ออก
หาก > 200 cc/hr ให้รายงานแพทย์
ป้องกัน hematoma
สังเกตบริเวณแผลผ่าตัด มีเลือดหรือน้ำเหลืองคั่งบริเวณใต้แผลหรือไม่
ดูแลให้สาย drain ไม่ให้พับงอหรือดึงรั้ง ดูแลสายไม่ให้อุดตัน วางขวดต่ำกว่าระดับตัวผู้ป่วย
ประเมินอาการช็อกเริ่มแรก เช่น Tachycardia,hypotension,hyperventilation,capillary refill >2sec.
ดูแล Redivac drain เป็นระบบสุญญากาศและทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ติดตามและประเมินผลปริมาณเลือดที่ออกทุกชั่วโมง
ประเมินผล
วิตกกังวล เนื่องจากอาการเจ็บป่วยของสามี
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบอกว่า "เมื่อคืนนอนไม่หลับ เป็นห่วงสามีที่เตรียมทำการผ่าตัดหัวใจที่รพ.ศิริราชในวันพรุ่งนี้"
O : ผู้ป่วยมีสีหน้านิ่วคิ้วขมวด
วิตกกังวล
O : 14/2/64 เวลา 14.00 น.
BP 170/100mmHg.
Patho
วิตกกังวล
↑Glucocorticoids
ยับยั้ง Collagen และการสร้าง Granulation tissue
+Sym
หลอดเลือดหดตัว
การไหลเวียน↓
1 more item...
เป้าประสงค์
เพื่อลดความวิตกกังวล
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยวิตกกังวลลดลง
คุณภาพการนอนหลับมีประสิทธิภาพ
ผู้ป่วยไม่แสดงอาการปวดทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
สีหน้าแจ่มใส ไม่คิ้วขมวด
การพยาบาล
ดูแลอย่างใกล้ชิด เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจและเห็นความสำคัญของผลกระทบจากความเครียดวิตกกังวลต่อการหายของแผล
ส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับ เช่น ฟังเพลง อ่านหนังสือธรรมะก่อนนอน เป็นต้น
ติดตามและเฝ้าระวังภาวะวิตกกังวล
ประเมินผล