Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Covid-19 - Coggle Diagram
Covid-19
-
วิธีป้องกัน
-
-
-
-
ล้างมือให้สม่ำเสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลอย่างน้อย 20 วินาที ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ไม่ต่ำกว่า 70% (ไม่ผสมน้ำ)
-
-
-
สำหรับบุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ที่ต้องดูแลผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือโควิด-19 โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรือใส่แว่นตานิรภัย เพื่อป้องกันเชื้อในละอองฝอยจากเสมหะหรือสารคัดหลั่งเข้าตา
-
การตรวจ
-
การตรวจหาแอนติบอดี้
การสร้างภูมิคุ้มกันจะใช้ตรวจหาแอนติบอดี้ IgM และ IgG ที่สร้างขึ้นมาต้านไวรัส ไม่มีประโยชน์ในการวินิจฉัยโรคเนื่องจากการตอบสนองของร่างกายไม่สามารถตรวจพบได้ในสัปดาห์แรกของการเจ็บป่วย การตวจใช้เวลา 15 นาทีและสามารถใช้ตรวจว่าใครเคยติดเชื้อมาก่อน
-
-
การรักษา
ขณะนี้ยังไม่มียาต้านไวรัสที่ได้รับการขึ้นทะเบียนให้ใช้รักษาโรคโควิด19 แต่มีการทำวิจัยเพื่อพิจารณาว่ามียาตัวใดบ้างที่อาจปรับวัตถุประสงค์การใช้เดิมเพื่อการรักษาโรคโควิด19
องค์การอนามัยโลกกำลังประสานงานความร่วมมือในโครงการขนาดใหญ่ชื่อ Solidarity Trial ในหลายประเทศเพื่อประเมินยา/สูตรการรักษา 4 ชนิด ดังนี้
-
-
-
-
การวินิจฉัย
เบื้องต้น
แพทย์จะวินิจฉัยจากสัญญาณอาการของผู้ป่วยร่วมกับการซักประวัติการเดินทางไปยังพื้นที่เสี่ยงในช่วง 14 วันก่อนหน้า และการอยู่ใกล้ชิดหรือสัมผัสกับผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19
ตรวจในห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด หรือการเก็บตัวอย่างเชื้อ (Swab Test) ที่จะเก็บตัวอย่างน้ำลายหรือสารคัดหลั่งภายในโพรงจมูกหรือคอ
ความหมาย
โรคติดเชื้อจากไวรัสชนิดหนึ่ง ซึ่งพบการระบาดในช่วงปี 2019 ที่เมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน โดยในตอนนั้นเราจะรู้จักกันโรคนี้ในชื่อว่า ไวรัสอู่ฮั่น ก่อนที่ภายหลังจะระบุเชื้อก่อโรคได้ว่าเป็นเชื้อในตระกูลโคโรนาไวรัส แต่เป็นสายพันธุ์ใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ดังนั้น ทางองค์การอนามัยโลก จึงได้ตั้งชื่อโรคติดต่อชนิดนี้ใหม่อย่างเป็นทางการ โดยมีชื่อว่า COVID-19 เพื่อไม่ให้เกิดรอยมลทินกับพื้นที่ที่เกิดการระบาดของโรคด้วย
สาเหตุ
เชื้อ SARS-like coronaviruses ในค้างคาวที่เคยพบในประเทศจีน และในภายหลังก็มีข้อมูลที่ยืนยันว่า ต้นตอของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 เกิดจากการผสมสารพันธุกรรมระหว่างโคโรนาไวรัสของค้างคาวกับโคโรนาไวรัสในงูเห่า กลายพันธุ์เป็นโคโรนาไวรัส สายพันธุ์ SARS-CoV-2 ที่แพร่เชื้อจากงูเห่ามายังคนได้
-