Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Covid-19 - Coggle Diagram
Covid-19
อาการที่พบได้บ่อย
- มีไข้ มีอุณหภูมิร่างกาย 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป (อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยบางรายอาจไม่มีไข้เลย)
-
-
-
-
-
-
-
การแพร่เชื้อ
- โรคCovid-19 นี้ โดยหลักแล้ว แพร่จากคนสู่คนผ่านทางละอองฝอยจมูกหรือปาก ซึ่งขับออกมาเมื่อผู้ป่วยไอหรือจาม เรารับเชื้อได้จากการหายใจเอาฝอยละอองเข้าไปจากผู้ป่วย หรือจาการเอามือไปจับพื้นผิวที่มีฝอยละอองเหล่านั้นมาจับตามใบหน้า
- ระยะเวลานับจากการติดเชื้อและการแสดงอาการ(ระยะฟักตัว) มีตั้งแต่ 1-14 วัน และมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 5-6 วัน เกิน 97% ของผู้ป่วยเริ่มมีอาการภายใน 14 วัน
- การเพิ่มจำนวนของไวรัสเกิดขึ้นในระบบทางเดินหายใจส่วนบนและในปอด มีงานวิจัยในช่วงแรกระบุว่า การเพิ่มจำนวนของไวรัสได้ในระบบทางเดินาหาร แต่การติดต่อโดยระบบทางเดินอาหารยังไม่เป็นที่ยืนยัน
- ช่วงพีคของการติดเชื้อน่าจะเกิดขึ้นในช่วงแรกที่แสดงอาการและลดลงหลังจากนั้น
- การแพร่เชื้อก่อนแสดงอาการอาจเกิดขึ้นได้ อย่างไรก็ตามหากไม่มีอาการไอ(กลไกหลักในการขับไวรัสออกมา)อาจจำกัดการแพร่เชื้อในช่วงนั้น
ต้นกําเนิดของไวรัส
- ต้นต่อของไวรัสน่าจะมาจากการที่ไวรัสตัวกลางระบาดสู่คน
- ผู้ป่วยรายแรกเท่าที่ทราบกัน เริ่มมีอาการตั้งแต่ 1 ธันวาคม และไม่มีความเชื่อมโยงเกี่ยวกับตลาดต้องสงสัยในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน แต่ผู้ป่วยหลายรายอาจมีมาตั้งแต่กลางเดือนพฤศจิกายนหรือก่อนหน้านั้น
- มีการเก็บตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมในตลาดไปส่งตรวจ พบเชื้อไวรัสและพบมากที่สุดในบริเวณที่ค้าสัตว์ป่าและสัตว์เลี่ยงในฟาร์ม
- ตลาดอาจเป็นต้นกำเนิดของไวรัส หรือออาจมีบทบาทในการขยายวงการระบาดในระยะเริ่มแรก
อาการรุนแรง
-
-
- สูญเสียความสามารถในการพูดและเคลื่อนไหว
-
มาตรการทางสาธารณสุข
- การกักกัน คือ การจำกัดกิจกรรมต่างๆ หรือการแยกผู้ที่ไม่ป่วย แต่อาจมีประวัตติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยโควิด19 จุดประสงค์คือเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในห้วงเวลาที่คนเริ่มมีอาการ
- การแยกกัก หมายถึง การแยกผู้ป่วยที่มีอาการของโรคโควิด19 และอาจแพร่เชื้อได้ จึงทำเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
- การเว้นระยะ คือ การอยู่ห่างกันและกัน องค์การอนามัยโลกแนะนำให้เว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตรจากผู้อื่น ส่วนนี้เป็นมาตรการทั่วไปที่ทุกคนต้องทำถึงแม้ว่าจะแข็งแรงดี
- การติดตามผู้สัมผัสโรค ทำเพื่อระบุหาคนที่อาจมีประวัติสัมผัสโรค เพื่อที่จะแยกกันออกไปโดยเร็ว
-
กลุ่มเสี่ยง
-
เสี่ยงสูง
ความเสี่ยงต่ออาการรุนแรงของโรคเพิ่มขึ้นตามอายุและในผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง และโรคมะเร็ง
ภูมิคุ้มกัน
ระยะสั้น
-
- ผู้ป่วยอาจยังแพร่เชื้อได้แม้มีอาการดีขึ้น สิ่งนี้มีนัยสำคัญต่อการควบคุมป้องกันโรคในบริบทสถานพยาบาลในการจำหน่ายผู้ป่วย ผู้ป่วยบางรายยังคงต้องแยกกักตัวเองต่อที่บ้านหลังจากได้รับการจำหน่ายแล้ว
ระยะยาว
- ขณะนี้ ยังไม่มีหลักฐานเพียงพอเกี่ยวกับประสิทธิภาพหรือระยะเวลาของภูมิคุ้มกันที่สร้างจากสารแอนติบอดี้ที่จะรับประกันความเที่ยงตรงของสิ่งที่เรียกว่า"พาสปอร์ตภูมิคุ้มกัน" หรือ "ใบรับประกันว่าไม่มีความเสี่ยง"
- มีข้อกังวลว่า ผู้คนอาจมีความเข้าใจว่าตนเองมีภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อครั้งที่สอง และละเลยการปฏิบัติตามคำแนะนำทางสุขภาพ ซึ่งอาจเป็นการเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดการระบาดต่อเนื่อง
การรักษา
-ขณะนี้ยังไม่มียาต้านไวรัสที่ได้รับการขึ้นทะเบียนให้ใช้รักษาโรคโควิด19 แต่มีการทำวิจัยเพื่อพิจารณาว่ามียาตัวใด้างที่อาจปรับวัตถุประสงค์การใช้เดิมเพื่อการรักษาโควิด19
-องค์การอนามัยโลกกำลังประสานงานความร่วมมือในโครงการขนาดใหญ่ชื่อ Solidarity Trial ในหลายประเทศเพื่อประเมินยา/สูตรการรักษา 4 ชนิดดังนี้
- Remdesivir เดิมพัฒนาขึ้นเพื่ออีโบลา
- Lopinavir / Ritonavir การผสมกันของยาต้านเอชไอวี
- Lopinavir / Ritonavir + Interferon Beta Interferon Beta มีคุณสมบัติต้านไวรัส
- Chloroquine ยาต้านมาลาเรียที่มีคุณสมบัติต้านไวรัส
มาตรการระดับบุคคล
- การรักษาสุขอนามัยของมือและมารยาทในการไอ/จามเป็นสิ่งสำคัญที่ควรทำตลอดเวลาและเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะป้อกันตัวเองและผู้อื่น
- เมื่อเป็นไปได้ รักษษระยะอย่างน้อย 1 เมตรจากผู้อื่น เนื่องจากผู้ติดเชื้อบางรายอาจยังไม่แสดงอาการหรือมีอาการไม่รุนแรง ดังนั้นการเว้นระยะห่างจากทุกคนที่สำคัญมากหากอยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโควิด19
-
-
การตรวจ
ไม่มีการตรวจโควิด-19 ชนิดใดได้รับการขึ้นทะเบียน ยกเว้นภายใต้ข้อกำหนดการใช้ในสภาวะฉุกเฉินเท่านั้น ทุกประเภทกำลังอยู่ระหว่างการประเมิน
- Nucleic Acid Amplification Test (NAATs)
-ใช้เพื่อตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อ(ว่าตรวจพบไวรัสหรือไม่)ในระยะเฉียบพลันของโรค การตรวจเทคนิคนี้ใช้เวลาระหว่าง 13 นาที ถึง 3 ชั่วโมง และจำเป็นต้องมีอุปกรณ์เครื่องมือเฉพาะ
-ด้วยการสร้างภูมิคุ้มกันจะใช้ตรวจหาแอนติบอดี้้IgM
และ IgG ที่สร้างขึ้นมาต้านไวรัส ไม่มีประโยชน์ในกาารวินิจฉัยโรคเนื่องจากการตอบสนองของร่างกายไม่สามารถตรวจพบได้ในสัปดาห์แรกของการเจ็บป่วยการตรวจต้องใช้เวลา 15 นาทีและสามารถใช้ตรวจว่าใครติดเชื้อมาก่อน การศึกษาในระดับประชากรด้วยเทคนิคตรวจแอนติบอดี้ขณะนี้ทำอยู่ใน 6 ประเทศ
-ใช้ตรวจหาแอนติเจนของไวรัสและอาจเป็นประโยชน์ในการวินิจฉัยการติดเชื้อเฉีนบพลัน การพัฒนาชุดตรวจทำอยู่ในหลายประเทศ
เป็นไวรัสที่ถูกพบครั้งแรกในปี 1960 แต่ยังไม่ทราบแหล่งที่มาอย่างชัดเจนว่ามาจากที่ใด แต่เป็นไวรัสที่สามารถติดเชื้อได้ทั้งในมนุษย์และสัตว์ ปัจจุบันมีการค้นพบไวรัสสายพันธุ์นี้แล้วทั้งหมด 6 สายพันธุ์ ส่วนสายพันธุ์ที่กำลังแพร่ระบาดหนักทั่วโลกตอนนี้เป็นสายพันธุ์ที่ยังไม่เคยพบมาก่อน คือ สายพันธุ์ที่ 7 จึงถูกเรียกว่าเป็น “ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่” และในภายหลังถูกตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า “โควิด-19” (COVID-19) นั่นเอง และเป็นโรคติดเชื้ออันเกิดจากไวรัสโคโรนากลุ่มอาการทางเดินทางหายใจเฉียบพลันรุนแรง 2 (SARS-CoV-2)