Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมพัฒนาการของเด็กรายนี้ - Coggle Diagram
การส่งเสริมพัฒนาการของเด็กรายนี้
ส่วนสูงเด็ก
เด็กแรกเกิดจากมีความสูง ปกติอยู่ที่ 50 เซนติเมตร
เด็กอายุ 1 ปี จะต้องมีความสูงที่เพิ่มขึ้น 75 เซนติเมตร หรือจำนวนเท่าของส่วนสูงแรกเกิด x1.50
อาหารและโภชนาการ
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
รับประทานอาหารที่มีเเคลเซียมสูง เช่น นม ไข่ โยเกิร์ต
สัตว์ที่กินได้ทั้งกระดูก เช่น ปลาเล็กปลาน้อย กุ้งแห้ง
อาหารที่มีแมกนีเซียม ที่ช่วยในการดูดซึมแคลเซียม เช่น เมล็ดฟักทอง งา ถั่ว ปลาแมคเคอเรล ดาร์กช็อกโกแลต
ผักสีเขียวเข้ม เช่น คะน้า ผักโขม ผักบุ้ง
โปรตีน วิตามิน แร่งธาตุ ที่พบมากใน เนื้อสัตว์ เนื้อปลา ผัก ผลไม้ต่างๆ
งดเครื่องดื่มอัดลม และขนมขบเคี้ยว
การออกกำลังกาย
ให้เด็กได้เดิน ยืน หรือเคลื่อนไหวร่างกายส่วนต่างๆ
พักผ่อนให้เพียวพอ
เข้านอนก่อน 3 ทุ่ม
การนอนที่เหมาสม คือ 11 -14 ชั่วโมง
น้ำหนักที่ต่ำกว่าเกณฑ์
อาหารที่เพิ่มน้ำหนักเด็กอายุ 1 ปี
อาหารมื้อหลัก 3 มื้อ สารอาหารครบถ้วน สุกอ่อน นุ่ม ชิ้นเล็กเคี้ยวได้ง่าย รสไม่จัด
แต่ละมื้อ ประกอบด้วยข้าวสวยหรืออาหารแป้ง 1 ทัพพี เนื้อสัตว์ประมาณ 1-1ครึ่งช้อนกินข้าว กินไข่เป็นประจำ
ใช้น้ำมันพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น น้ำมันรำข้าว น้ำมันถั่วเหลือง
ผักใบเขียว เช่น ตำลึง ผักบุ้ง ฟักทอง เเครอท
ผลไม้อาหารว่างระหว่างวัน วันละ 1-2 มื้อ
อาหารไม่ต้องบดหรือสับละเอียดมาก
ตัวอย่างอาหารเพิ่มน้ำหนักเด็ก เช่น เนย เนยถั่ว นม ไข่ กล้วย อะโวคาโด ไก่ มันฝรั่ง เนื้อสัตว์ ผักและผลไม้
คำนวณน้ำหนักตามสูตร
สูตรคำนวณน้ำหนักจากอายุ (กิโลกรัม) อายุ 3 - 12 เดือน = (อายุ(เดือน)+9) / 2
อายุ 1 - 6 ปี = (อายุ(ปี)x2) + 2
อายุ 7 - 12 ปี = (อายุ(ปี)x7-5) / 2
น้ำหนักปกติของเด็ก 1 ปี
เด็กผู้ชาย 8.3 - 11.0 กิโลกรัม
เด็กผู้หญิง 7.7 - 10.5 กิโลกรัม
การแก้ไขปัญหาในการยืน
การส่งเสริมพัฒนาการการเดินในเด็ก
พยุงตัวเด็กให้ยืนขึ้น เมื่อเด็กทรงตัวได้ก็เปลี่ยนมาจับข้อมือ แล้วค่อยๆปล่อยมือ สามารถยืนได้เอง
จัดพื้นที่ให้เด็กหัด เกาะยืน เกาะเดิน โดยจัดเฟอร์นิเจอร์ที่แข็งเเรง ปลอดภัย สูงระดับที่เด็กเกาะยืนและเดินไปรอบๆได้สะดวก เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เตียง แต่ต้องระวังไม่ให้มีเหลี่ยมมุมคมๆที่เป็นอันตราย
3.เมื่อเด็กสามารถตั้งตัวขึ้นยืนเองได้แล้ว ให้เขาสนุกกับการเกาะเดินไปรอบๆโดยกระตุ้น จากเสียงพ่อแม่ ของเล่น หรือข้าวของต่างๆ
เมื่อเด็กเดินได้คล่องแล้ว ปล่อยให้เด็กได้ลองเดินเองบ้าง เด็กจะสามารถเดินเร็วได้ส่วนหนึ่งมาจากความมั่นใจจากพ่อเเม่หรือคนเลี้ยงดู ช่วยจับมือฝึกเขาเดินทุกๆวัน
พ่อเม่จับมือทั้งสองข้างของเด็ก ให้เด็กอยู่ข้างหน้า หันหน้าออก แล้วพ่อเเม่อยู่ข้างหลัง ค่อยๆให้เด็กก้าวไปข้างหน้าที่ละก้าว พ่อเเม่ก็ค่อยๆเดินตาม
ให้พ่อเเม่หรือคนในครอบครัวอยู่ปลายทาง แล้วให้เด็กเดินไปหา พร้อมส่งเสียงเรียกชื่อ ปรบมือให้กำลังใจเมื่อเด็กทำได้ ยิ้มกว้างๆเพื่อสร้างความมั่นใจให้เด็ก
การสอนเด็กเดิน ควรให้เด็กฝึกเดินเท้าเปล่าดีที่สุด เพราะเด็กจะได้รับความรู้สึกจากฝ่าเท้า ซึ่งมีผลต่อการทรงตัว ดังนั้นพื้นควรมีลักษณะที่เรียบ ไม่ขุรขระ แข็งหรือเย็นจนเกินไป
ไม่ควรเร่งเด็กให้ยืนเร็วๆหรือเดินเร็วๆ เพราะที่สุดเเล้ว เมื่อเด็กพร้อม จะยืนได้ด้วยตัวเขาเอง หากเร่งเด็กยืนหรือเดิน อาจส่งผลให้พัฒนาการของเด็กช้ากว่าที่จะเป็น และเด็กอ่จรู้สึกแย่ ไม่มั่นใจ ฝังใจกับการล้มบ่อยๆ อาจทำให้กลัวการยืนหรือเดินได้