Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ, นางสาวพิชามญชุ์…
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
การสำลักสิ่งแปลกปลอมติดคอ
สาเหตุ
มีความอยากรู้อยากเห็นจึงมักเอาสิ่งแปลกปลอมใส่ช่องต่างๆของร่างกาย
การรับประทานผลไม้ที่มีเมล็ด
มักพบในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
ของเล่นเด็กที่ไม่เหมาะสม เช่น ชิ้นเล็กๆ
อาการและอาการแสดง
เด็กจะมีอาการหายใจเข้าเสียงดัง หายใจลำบาก
ขณะหายใจหน้าอกบุ๋ม
มีอาการไอและมีอาการตัวเขียว สำลัก ไออย่างรุนแรง
หมายถึง
และสำลักจนติดคอ อุดกั้นกล่องเสียงและหลอดลมคอ
ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจเฉียบพลัน
การที่สิ่งแปลกปลอมเข้าปาก จมูก
พยาธิสภาพ
เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น
เนื่องจากลักษณะทางกายวิภาคของทางเดินหายใจส่วนต้นของเด็กมีขนาดเล็กและแคบ
ส่งผลต่อภาวะขาดออกซิเจน
การอุดกั้นอย่างสมบูรณ์จะทำให้อากาศหรือออกซิเจนเข้าสู่หลอดลมและปอดไม่ได้เลย
การรักษา
เด็กเล็กต่ำกว่า 1 ปี
Back Blow
วางเด็กลงบนแขนผู้ช่วยเหลือ ศรีษะต่ำ และตบหลัง
Chest Thrust
สลับกับอุ้มหงาย ใช้นิ้วกลางและนิ้วนางมือขวากดบนหน้าอก
ทำอย่างละ 5 ครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอมออก
และเปิดปากเด็กเพื่อดูสิ่งแปลกปลอม
เด็กโต
ใช้เทคนิคกดบริเวณหน้าท้อง Abdominal Thrust หรือเรียกว่า Heimlich Manuever
โดยผู้ช่วยเหลือเข้าทางด้านหลัง ใช้แขนสอดข้างสองข้างโอบผู้ป่วยไว้
มือซ้ายประคอง
มือขวากำมือวางไว้ใต้ลิ้นปี่ ดันเข้าใต้ลิ้นปี่อย่างรวดเร็ว
เพื่อให้เกิดแรงดันในช่องท้อง ดันเข้าใต้กระบังลมผ่านไปยังช่องทรวงอก เพื่อดันให้สิ่งแปลกปลอมหลุดออกจากกล่องเสียง
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้เด็กได้รับการรักษาเบื้องต้นอย่างรวดเร็ว
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ประเมินอาการและอาการแสดงของการอุดกั้นทางเดินหายใจ
สังเกตบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 1-2 ชั่วโมง
เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่น อุปกรณ์ให้ออกซิเจน เครื่องดูดเสมหะ
ไฟไหม้และน้ำร้อนลวก (Burn and Scald)
พยาธิสภาพ
มีการทำลายของ หลอดเลือด เนื้อเยื่อบริเวณนั้นตาย เลือดจึงมาเลี้ยงน้อยลง
การบวม มีการรั่วของสารน้ำออกนอกหลอดเลือด เกิดการรั่วไหลของพลาสมาซึ่งมีส่วนของอัลบูมิน
เนื้อเยื่อของร่างกายเมื่อสัมผัสกับความร้อน
สาเหตุ
ความร้อน เช่น ไฟ (เตาไฟ พลุประทัด)
วัตถุที่ร้อน (เตารีด จาน ชามที่ใส่ของร้อน)
น้ำร้อน (กระติกน้ำกาน้ำ ไอน้ำ หม้อน้ำ)
น้ำมันร้อน ๆ (ในกระทะ)
กระแสไฟฟ้า (ไฟฟ้าช็อต)
สารเคมี เช่น กรด ด่าง
รังสี เช่น แสงแดด (แสงอัลตราไวโอเลต),รังสีโคบอลต์, รังสีเรเดียม, รังสีนิวเคลียร์,
อาการแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
ขนาดความกว้างของบาดแผล
โดยทั่วไปนิยมคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ผิวหนังทั่วร่างกาย
ความลึกของบาดแผล หรือ ดีกรีความลึกบาดแผล
Degree of burn wound
First degree burn
อาการผื่นแดงปวดแสบปวดร้อน ผิวหนังยังไม่พอง
เช่นน้ำร้อนลวก ถูกแสงแดด
เนื่อเยื่อชั้นผิวหนัง ชั้นตื้นๆถูกทำลายบางส่วน
Second degree burn
ทำลายลึกผิวหนังในต่อมเหงื่อ รูุขุมขน
บวมแดงมากขึ้น พอง มีน้ำเหลืองซึม
ปวดแสบปวดร้อนมาก
จะติดเชื้อง่าย
Third degree burn
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดอุณหภูมิปกติ หรือเปิดน้ำไหลผ่าน หรือแช่อวัยวะลงในน้ำสะอาด 15-20นาที
ใช้สบู่อ่อนชำระล้างสิ่งสกปรกออกก่อนได้
การรักษา
ดูแลระบบไหลเวียน ภาวะการณ์ไหลเวียนล้มเหลวด้วยการให้สารน้ำ
การตกแต่งบาดแผล (debridement)
ช่วยลดการติดเชื้อ เพราะจะกำจัดเนื้อเยื่อที่มีเชื่อจุลินทรีย์
เป็นการกำจัดเนื้อตายจากบาดแผล
การปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft) ทำรายที่ผิวหนังถูกเผาไหม้ทุกชั้น
ช่วยหายใจ
การรักษาบาดแผล
การจมน้ำ
Drowing
ผู้ที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ
Near-Drowing
บางรายอาจเสียชีวิตในเวลาต่อมา
ผู้ที่จมน้ำแต่ไม่เสียชีวิตทันที
พยาธิสภาพ
น้ำจะเข้ากล่องเสียงทำให้เกิดการหดเกร็งของกล่องเสียง
อากาศและน้ำเข้าหลอดลมไม่ได้เกิดภาวะขาดออกซิเจน
เด็กจะไอจากการระคายเคืองที่มีน้ำในจมูกและคอ
ตามด้วยการสูดหายใจเอาน้ำเข้าไปในปอดทำให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้เพราะถุงลมเต็มไปด้วยน้ำ
1.การจมน้ำเค็ม ( Salt-water Drowning)
ปริมาตรน้ำที่ไหลเวียนในร่างกายลดลง เกิดภาวะ hypovolemia
ระดับเกลือแร่ในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ช็อกได้
ทำให้เกิดภาวะ pulmonary edema
การจมน้ำจืด (Freshwater-Drowning)
เกิด hypervolemia ทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกhemolysis
วิธีการช่วย
ถ้าเด็กรู้สึกตัวให้รีบเช็ดตา เปลี่ยนเสื้อผ้า ทำให้เกิดความอบอุ่น จัดท่านอนท่าตะแคงกึ่งคว่ำ แล้วส่งรพ.
เด็กหมดสติ
เช็กว่ายังมีลมหายใจไหม หัวใจเต้นหรือไม่ แล้วโทรเรียกรถรพ.
ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานโดย
จับศีรษะให้หงายขึ้นให้มากที่สุด ใช้ฝ่ามือกดหน้าผากของเด็กไว้แล้วใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้บีบจมูก จากนั้นใช้ปากครอบลงบนปากของผู้ป่วยให้มิด แล้วเป่าลมเข้าไปให้สุดลมหายใจของเรา
ตาดูที่หน้าอกว่าขยายหรือไม่
ถ้าเห็นอกไม่ขยาย ให้ปล่อยมือที่บีบจมูกไว้ จากนั้นเป่าลมเข้าไปใหม่ ทำสลับกับการนวดหัวใจ โดยนวดหัวใจ 30 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง
ทำ CPR ควบคู่ไปด้วยโดย
ให้เด็กนอนราบบนพื้นแข็ง
วัดตำแหน่งที่เหมาะสำหรับการนวดหัวใจ โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางข้างที่ถนัด วาดจากขอบชายโครงล่างของผู้ป่วยขึ้นไป จนถึงปลายกระดูกหน้าอก วัดเหนือปลายกระดูกหน้าอกขึ้นมา 2 นิ้วมือ แล้วใช้สันมือข้างที่ไม่ถนัดวางบนตำแหน่งดังกล่าว จากนั้นใช้สันมือข้างที่ถนัดวางทับลงไป และเกี่ยวนิ้วมือให้นิ้วมือที่วางทับแนบชิดในร่องนิ้วมือของมือข้างล่าง(interlocked fingers) ยกปลายนิ้วขึ้นจากหน้าอก
ผู้ช่วยเหลือยืดไหล่และแขนเหยียดตรง กดลงไปลึกประมาณ 2 นิ้ว หรือประมาณ 5 เซนติเมตร ของความหนาหน้าอก โดยกดลงไปในแนวดิ่ง และอย่ากระแทก ทั้งนี้ให้ทำสลับกับการเป่าปาก โดยเป่าปาก 2 ครั้ง กดหน้าอก 30 ครั้ง
การกดนวดหัวใจ ควรนวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ ในอัตราเร็วอย่างน้อย 100 ครั้ง/นาที
กระดูกหักและข้อเคลื่อน (Fracture and Dislocation)
กระดูกหัก
หมายถึงภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน
ข้อเคลื่อน
หมายถึงภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ที่ควรจะอยู่หรือกระดูกหลุดออกจากเบ้า
ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูกหลอดเลือดน้ำเหลืองเส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
สาเหตุ
เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
อาการและอาการแสดง
รอยจ้ำเขียว
อวัยวะมีการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ
2.บวม
เนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักพลาสมาซึมเข้าสู่เนื้อเยื่อหรือกระดูกเกยกันก็ทำให้ดูบริเวณนั้นใหญ่ขึ้น
มีอาการปวดและกดเจ็บ
หลักการการดูแลเมื่อเข้าเฝือก
ภายใน 24 ชั่วโมงแรกควรประเมินเด็กทุก 1 ชั่วโมง
จับชีพจรว่าเต้นแรงหรือไม่เปรียบเทียบกับแขนขาข้างที่ปกติ
สังเกตบริเวณอวัยวะส่วนปลาย
คือปลายมือปลายเท้าผิวหนังเล็บ
ถ้าการไหลเวียนเลือดไม่ดีถูกเฝือกกดจะพบอวัยวะส่วนปลายเหล่านี้มีสีคล้ำเย็นซีดมีอาการชาขาดความรู้สึกต่อการสัมผัส
เคลื่อนไหวนิ้วมือนิ้วเท้าไม่ได้จากเส้นประสาทถูกกด
อาการเจ็บปวดที่มากกว่าเดิม (pain)
อาการบวม (swelling)
ลดอาการบวม ยกส่วนที่เข้าเฝือกให้สูงเล็กน้อยด้วยการใช้หมอนรองใต้เฝือกความยาวประมาณ 48 ชั่วโมง
ดูแลเผือกห้ามเปียกน้ำ
การได้รับสารพิษ
สารพิษ ( Poisons)
เข้าสู่ร่างกายโดย การรับประทาน การฉีด การหายใจหรือการสัมผัสทางผิวหนัง
สารพิษจำแนกตามลักษณะการออกฤทธิ์
สารเคมีที่มีสภาพเป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ
1.ชนิดกัดเนื้อ (Corrosive )
ทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายไหม้ พอง ร้อนที่ปาก ลำคอ ท้อง คลื่นไส้ อาเจียน กระหายน้ำ อาจช็อกได้
ได้แก่ สารละลายพวก กรดและด่างเข้มข้น น้ำยาฟอกขาว
การปฐมพยาบาล :!!:
ถ้ารู้สึกตัวดีให้ดื่มนม
อย่าทำให้อาเจียน
รีบนำส่งโรงพยาบาล
2.ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants )
ได้แก่ ฟอสฟอรัส สารหนูอาหารเป็นพิษ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
3.ชนิดที่กดระบบประสาท (Narcotics )
ทำให้หมดสติ หลับลึก ปลุกไม่ตื่น ม่านตาหดเล็ก
ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน พิษจากงูบางชนิด
4.ชนิดที่กระตุ้นระบบประสาท (Dililants)
ทำให้เกิดอาการเพ้อคลั่งใบหน้าและผิวหนังแดง ตื่นเต้นชีพจรเต้นเร็ว ช่องม่านตาขยายได้แก่
ยาอะโทรปีน ลำโพง
ข้อห้ามในการทำให้ผู้ป่วยอาเจียน :red_cross:
หมดสติ
ได้รับสารพิษชนิดกัดเนื้อ เช่น กรด ด่าง
รับประทานสารพิษพวก น้ำมันปิโตรเลียม เช่น น้ำมันก๊าด เบนซิน
ให้สารดูดซับสารพิษในระบบทางเดินอาหาร เช่น ผงถ่าน :check:
ระหว่างน้ำส่งโรงพยาบาลถ้าอาเจียนให้จัดศีรษะต่ำ ป้องกันการสำลักน้ำมันเข้าปอด :check:
การปฐมพยาบาล
ผู้ที่ได้รับสารพิษทางปาก
ทำให้สารพิษเจือจาง ให้นมนำส่งโรงพยาบาล
ทำให้ผู้ป่วยอาเจียน เพื่อเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหาร
ผู้ที่ได้รับพิษทางการหายใจ
กลั้นหายใจและรีบเปิดประตูหน้าต่าง ๆ ปิดท่อก๊าซ หรือขจัดต้นเหตุของพิษนั้น ๆ
นำผู้ป่วย ออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์
ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ ถ้าไม่มีให้ผายปอดและนวดหัวใจนำส่งโรงพยาบาล
สารเคมีถูกผิวหนังและสารเคมีเข้าตา
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ล้างด้วยน้ำสะอาดนาน ๆ อย่างน้อย 15 นาที
ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
นางสาวพิชามญชุ์ เชิงทวี
เลขที่ 59 รหัสนักศึกษา 62111301061
ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 37