Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
-
ประเด็นสำคัญ
- มาตราการบังคับรักษา
- บุคคลนั้นมีภาวะอันตราย
- มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
- การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
- ยินยอมบอกกล่าว
- สิทธิที่จะได้รับการบำบัดรักษา
-
พ.ร.บ. 2551
หมวดที่ 1. คณะกรรมการ
-
คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา
ได้แก่
- จิตแพทย์
- แพทย์ทั่วไป
- นักกฎหมาย
- นักจิตวิทยาคลีนิค/นักสังคมสงเคราะห์
หมวดที่ 2 . สิทธิผู้ป่วย
มาตรา 15.
- ผู้ป่วยมีสิทธิ ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตราฐานทางการแพทย์ คำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- ได้รับการปกปิดข้อมูล
- ได้รับการคุ้มครองจากการวิจัยตามมาตรา20
- ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม หรืออื่นๆอย่างเท่าเทียม.
มาตรา 16 ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วยในประการที่น่าจะทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย
มาตรา 17 การผูกมัดร่างกายการกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้
การกักขัง ล่ามโซ่ผู้ป่วยไว้ในบ้านก็ผิดกฎหมายในมาตรานี้
-
-
มาตรา 20 การวิจัยที่กระทำกับผู้ป่วย ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย มีหนังสือ และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการเกี่ยวกับจริยธรรมด้านวิจัย
-
หมวดที่4 . การอุทธรณ์
มาตรา42. ให้ผู้ป่วยหรือผู้ซึ้งปกครงดูแลผู้ป่วย ยื่นอุทธรณ์ภายใน 30 วัน
กรณีญาติไม่เห็นด้วย ในการรักษาสามารถยื่นอุทธรณ์ต่อสถานบำบัดที่รับผู้ป่วยไว้ได้
-
-
พ.ร.บ. 2562
มาตรา 50/1 ผู้ใดไม่ปฏิบัติคำสั่งที่ออกตามมาตรา 16/2 ต้องจำคุกไม่เกิน 1 ปี / ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท /ทั้งจำทั้งปรับ (เผยแพร่ข้อมูลทางสื่อสิ่งพิมพ์)
มาตรา 51 ผู้ใดแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ มีเจตนากลั่นแกล้ง จำคุกไม่เกิน 1ปี/ปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท/ทั้งจำทั้งปรับ
-
-
-
สาระสำคัญ
เพิ่มอำนาจหน้าทีทของคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติให้ครอบคลุมมากขึ้น
กำหนดห้ามสื่อทุกประเภทเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าทางใด
มีผลในการคุ้มครอง หูแว่ว เห็นภาพหลอน พูดจาเพ้อ แต่งกายแปลก แนวโน้มทำอันตรายผู้อื่น
กรณีเร่งด่วน พบเห็น 1323 /แจ้งเจ้าหน้าที่สาธาฯ หากไม่เสี่ยงให้ส่งต่อรพ.ใกล้บ้าน
**กรณีเร่งด่วน 1669 และ 191
เจอแจ้ง
- บุคลากรทางการแพทย์
- ตำรวจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
- สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน ชแห่งชาติ สพฉ. มูลนิธิกู้ชีพ กู้ภัย