Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
-
-
ประเด็นสำคัญ
- มาตรการบังคับรักษา
พระราชบัญยัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ได้กำหนดไว้ 2 ประการ
- บุคคลนั้นมีภาวะอันตราย
- มีความจำเป็นต้องได้รับการรักษาและขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษา
- การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการคุ้มครองที่ชัดเจน เพราะถือว่าผู้ป่วยจิตเวชเป็นกลุ่มอ่อนด้อย ซึ่งต้องได้รับความคุ้มครองเป็นพิเศษ
- ความยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว จะรักษาได้ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย
- ปกปิดข้อมูลผู้ป่วยไว้เป็นความลับ เว้นแต่กรณีพิเศษ
- สิทธิที่จะได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์
- การอุทธรณ์
มาตรการบังคับรักษา ซึ่งเป็นการกระทบสิทธิเสรีภาพของผู้ป่วย ซึ่งฉบับนี้ได้กำหนดให้มีการอุทธรณ์ได้ด้วย โดยกล่าวไว้ว่า ในกรณีที่คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา มีคำสั่งให้ผู้ป่วยต้องเข้ารับการรักษา ให้ผู้ป่วยหรือผู้มีอำนาจทำการแทนผู้ป่วยแล้วแต่กรณี มีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อคณะกรรมการสุขภาพจิตในระดับสูงขึ้นได้
ความผิดปกติทางจิต
อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด สติปัญญา หรือการรู้เวลา สถานที่ หรือบุคคล รวมทั้งอาการผิดปกติทางจิตที่เกิดจากสุราหรือสารอื่นที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ภาวะอันตราย
พฤติกรรมที่บุคคลมีความผิดปกติทางจิตแสดงออกดดยประการที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อื่น
-
-