Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 - Coggle Diagram
บทที่ 4
สารพิษ ( Poisons)
สามารถเข้าสู่ร่างกายโดยการรับประทาน การฉีด การหายใจหรือการสัมผัสทางผิวหนังในเด็กส่วนใหญ่จะเกิดจากการรับประทานเข้าไป
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ไฟไหม้และนํ้าร้อนลวก
เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อได้รับอันตรายจากการถูกความร้อนที่มากเกินทําให้เกิดการทําลายเนื้อเยื่อและเกิดแผล
พยาธิสภาพ
-
มีการรั่วของสารนํ้าออกนอกหลอดเลือดเกิดการรั่วไหลของพลาสมาซึ่งมีส่วนของอัลบูมินบริเวณนั้นเกิดการบวมของเนื้อเยื่อ
-
-
-
การรักษา
ช่วยหายใจ เด็กที่ถูกไฟไหม้ในที่ สูดควันหรือแก๊สถูความร้อนลวกบริเวณ ใบหน้า คอ ต้องได้รับการดูแลในเรื่องการหายใจ
-
-
การตกแต่งบาดแผล (debridement) เป็นการกําจัดเนื้อตายจากบาดแผล ช่วยลดการติดเชื้อ เพราะจะกําจัดเนื้อเยื่อที่มีเชื่อจุลินทรีย
-
การจมนํ้า
-
-
-
ประเภท
การจมน้ำเค็ม
ทําให้เกิดภาวะ pulmonary edema ปริมาตรน้ำที่ไหลเวียนในร่างกายลดลงเกิดภาวะ hypovolemia ระดับเกลือแร่ในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ช็อกได้
การจมน้ำจืด
น้ำจืดจะซึมผ่านเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตของปอดอย่างรวดเร็ว เกิด hypervolemia ทําให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกhemolysis
วิธีช่วยเด็กจมน้ำ
เมื่อนําตัวเด็กขึ้นมาอยู่บนฝั่งได้แล้ว ในกรณีที่เด็กรู้สึกตัว ให้รีบเช็ดตัวเปลี่ยนเสื้อผ้า ใช้ผ้าคลุมตัวเพื่อทําให้เกิดความอบอุ่น จัดให้นอนในท่าตะแคงกึ่งคว่ำ แล้วนําส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
กรณีที่เด็กหมดสติ เช็กว่ายังมีลมหายใจอยู่ไหม หัวใจเต้นหรือเปล่า ถ้าไม่ ให้โทร. เรียกหน่วยรถพยาบาลหรือหน่วยกู้ภัยโดยด่วนจากนั้นให้ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานโดยนวดหัวใจสลับกับการช่วยหายใจ
-
วิธีการนวดหัวใจ
-
-
ผู้ช่วยเหลือยืดไหล่และแขนเหยียดตรงจากนั้นปล่อยนํ้าหนักตัวผ่านจากไหล่ไปสู่ลําแขนทั้งสองและลงไปสู่กระดูกหน้าอกในแนวตั้งฉากกับลําตัวของเด็ก กดลงไปลึกประมาณ 2 นิ้ว หรือประมาณ 5 เซนติเมตร ของความหนาหน้าอก โดยกดลงไปในแนวดิ่ง และอย่ากระแทก ทั้งนี้ให้ทําสลับกับการเป่าปาก โดยเป่าปาก 2 ครั้ง กดหน้าอก 30 ครั้ง
-
-