Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 - Coggle Diagram
บทที่ 4
-
-
ไฟไหม้และน้ำร้อนลวก
-
-
พยาธิสภาพ
-
ทำให้มีเลือดมากเลี้ยงน้อยลงจากหลอดเลือดถูกทำลายทำให้มีการรั่วของสารน้ำออกนอกหลอดเลือด เกิดการรั่วไหลของพลาสมาซึ่งมีส่วนของอัลบูมินบริเวณนั้นเกิดการบวมของเนื้อเยื่อ
-
-
-
การรักษา
-
การตกแต่งบาดแผล (debridement) เป็นการกำจัดเนื้อตายจากบาดแผล ช่วยลดการติดเชื้อ เพราะจะกำจัดเนื้อเยื่อที่มีเชื่อจุลินทรีย์
-
การปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft) ทำทุกรายที่ผิวหนังถูกเผาไหม้ทุกชั้นหลังจาก เนื้อเยื่องอกขึ้นมาเต็มและตัดเอาเนื้อตายออกหมด แผลสะอาดดี การปลูกถ่ายที่ดีที่สุดคือเอาผิวหนังของเด็ก
ช่วยหายใจ เด็กที่ถูกไฟไหม้ในที่ สูดควันหรือแก๊ส ถูกความร้อนลวกบริเวณ ใบหน้า คอ ต้องได้รับการดูแลในเรื่องการหายใจ
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 1
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ติดตามประเมินสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด เด็กอาจมีปัญหาเรื่องการหายใจ คือเสียงแหบ ไอ แสบจมูก ปาก มีเศษเขม่าในปาก เสมหะ หายใจลำบาก หอบ หรือมีเสียงหวีด ถ้าพบจะต้องรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาให้ออกซิเจนแก่เด็กทันที
- ดูแลเปิดทางเดินหายใจให้โล่งและไห้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 2
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ส่งตรวจและติดตามผลการตรวจอีเล็ดโตรลัยท์ในเลือด
- ประเมินระดับการรู้สึกตัว เด็กที่ได้รับน้ำเพียงพอควรมีความรู้สึกตัวดี
- วัดสัญญาณชีพ ความดันหลอดเลือดกลาง
- สังเกตและบันทึกปริมาณปัสสาวะที่ออก เด็กควรมีปัสสาวะออกไม่ต่ำกว่า 1 มล/ก.ก./ชม.
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอีเล็คโตรลัยท์ตามแผนการรักษา เป็นการทดแทนสารน้ำที่รั่วออกนอกหลอดเลือด
การจมน้ำ (Drowning)
-
การปั้มหัวใจ
-
วัดตำแหน่งที่เหมาะสำหรับการนวดหัวใจ โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางข้างที่ถนัด วาดจากขอบชายโครงล่างของผู้ป่วยขึ้นไป จนถึงปลายกระดูกหน้าอก วัดเหนือปลายกระดูกหน้าอกขึ้นมา 2 นิ้วมือ แล้วใช้สันมือข้างที่ไม่ถนัดวางบนตำแหน่งดังกล่าว จากนั้นใช้สันมือข้างที่ถนัดวางทับลงไป และเกี่ยวนิ้วมือให้นิ้วมือที่วางทับแนบชิดในร่องนิ้วมือของมือข้างล่าง (interlocked fingers) ยกปลายนิ้วขึ้นจากหน้าอก
ผู้ช่วยเหลือยืดไหล่และแขนเหยียดตรง จากนั้นปล่อยน้ำหนักตัวผ่านจากไหล่ไปสู่ลำแขนทั้งสอง และลงไปสู่กระดูกหน้าอกในแนวตั้งฉากกับลำตัวของเด็ก กดลงไปลึกประมาณ 2 นิ้ว หรือประมาณ 5 เซนติเมตร ของความหนาหน้าอก โดยกดลงไปในแนวดิ่ง และอย่ากระแทก ทั้งนี้ให้ทำสลับกับการเป่าปาก โดยเป่าปาก 2 ครั้ง กดหน้าอก 30 ครั้ง
-
พยาธิสภาพ
เมื่อเด็กจมน้ำและหายใจในน้ำครั้งแรก เด็กจะไอจากการระคายเคืองที่มีน้ำในจมูกและคอ น้ำจะเข้ากล่องเสียงทำให้เกิดการหดเกร็งของกล่องเสียง
อากาศและน้ำเข้าหลอดลมไม่ได้เกิดภาวะขาดออกซิเจน ตามด้วยการสูดหายใจเอาน้ำเข้าไปในปอด ทำให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้ เพราะถุงลมเต็มไปด้วยน้ำ
-
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
เพิ่มความอบอุ่นให้แก่ร่างกายให้อยู่ในระดับอุณหภูมิปกติเพื่อลดการเผาผลาญ ลดการใช้ออกซิเจน เพราะในขณะจมน้ำเด็กมักมีอุณหภูมิกายที่ต่ำกว่าปกติ
-
-
-