Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้ ทัศนคติ บทบาท พฤติกรรม และปัจจัย - Coggle Diagram
ความรู้ ทัศนคติ บทบาท พฤติกรรม และปัจจัย
พฤติกรรม
การป้องกัน
การใช้ถุงยางอนามัย
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์
ปัจจัยการใช้ถุงยางอนามัย
เพื่อป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
เพิ่มความมั่นใจในการมีเพศสัมพันธ์
เพื่อ ป้องกันการเลอะอุจจาระ
รายได้มาก
การใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
การรู้วิธีใช้สารหล่อลื่น
บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิงด้านแรงจูงใจที่จะปฏิบัติตามความคาดหวังของบุคคลในกลุ่มผู้ใกล้ชิดดีมาก
การมีทัศนคติที่ดีมากในการใช้ถุงยางอนามัย
บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิงด้านความเชื่อเกี่ยวกับความคาดหวังของบุคคลต่อการใช้ถุงยางอนามัยดีมาก
การศึกษา และความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถานภาพสมรส
ความสะดวกในการได้รับถุงยางอนามัย
ปัจจัยการไม่ใช้ถุงยางอนามัย
มีเพศสัมพันธ์แบบฉุกเฉิน
ความสุขทางเพศลดลง
มีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนเพียงคนเดียว
คู่นอนไม่ชอบ
ขาดสติเพราะ การเมาสุรา
มีเพศสัมพันธ์ทางปาก
มีความเชื่อแบบผิดๆต่อการใช้ถุงยางอนามัย
ทัศนคติต่อการใช้ถุงยางอนามัย
ระดับการศึกษา
ประเกทของคู่เพศสัมพันธ์
รายได้
นักเรียน
การป้องกันโดยการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง ร้อยละ 24.80
ทัศนคติเกี่ยวกับอุปสรรคในการใช้ถุงยางอนามัยในระดับปานกลาง
สัดส่วนของการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์กับแฟน-เพื่อนหญิงก็อยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำ
ใช้ถุงยางอนามัยเป็นประจำร้อยละ 42.4
นักเรียนที่แสดงพฤติกรรมทางเพศที่มีความเสี่ยงสูงจำเป็นต้องมีการประเมินความเสี่ยงร่วมกับส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย
นักเรียนตัวอย่างร้อยละ 50 เห็นด้วยกับการซื้อและพกถุงยางอนามัยโดยนักเรียนหญิงโสด
ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
ทัศนคติต่อการใช้ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์ ของชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
มีการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งกับคู่นอนประจำต่ำกว่าคู่นอนชั่วคราว (ร้อยละ 49.6 และร้อยละ 66.4 ตามล่าดับ)
เยาวชนชายรักชายมีการใช้ถุงยางอนามัยทุกคร้ังกับคู่นอนประจำต่ำกว่าคู่นอนชั่วคราวร้อยละ49.6และร้อยละ66.4 ตามลำดับ
ยอมรับการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกันเมื่อเสนอ 5,000 บาทขึ้นไป
ข้อผิดพลาดในการใช้ถุงยางอนามัย
การบีบไล่ลมออกจากถุยางอนามัยหลังจากใส่เสร็จแล้ว
ถอดถุงยางอนามัยก่อนที่จะเสร็จ
พบว่า ไม่ตรวจสอบถุงยางอนามัยหารอยฉีกขาดก่อนมีเพศสัมพันธ์
การเหลือช่องว่างที่ปลายถุงยางขณะใส่
ความไม่พอดีของถุงยางอนามัย
นักศึกษาชาย
ประมาณร้อยละ 70 มีทัศนคติเชิงบวกต่อการพกถุงยางอนามัยติดตัวหรือมีเตรียมพร้อมอยู่เสมอ เป็นการแสดงให้เห็นว่าเป็นคนที่รู้จักดูแลและป้องกันตัวเองจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประมาณร้อยละ 50 มีทัศนคติเชิงบวกในการใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์เพราะแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อคู่นอน
ประมาณ 9-27% มีทัศนคติในด้านลบเกี่ยวกับการใช้ถุงยางอนามัย ด้านการทําให้ความรู้สึกทางเพศลดลง เป็นการย่ำยีศักดิ์ศรีความเป็นชาย
นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่เคยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ร้อยละ 54.0 รวมถึงคู่นอนไม่เคยเป็นร้อยละ 47.3
เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับคนแปลกหน้าที่เพิ่งรู้จักกัน ใช้ถุงขางอนามัยทุกครั้งเป็นร้อยละ 29.3 ปฏิบัติเป็นบางครั้งร้อยละ 21.1 น้อยที่สุดคือไม่เคยใช้เลยร้อยละ 7.0
ตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้มาก ติดเป็นร้อยละ 63.80 และมีความรู้น้อยคิดเป็นร้อยละ 36.20
ใช้วิธีป้องกันทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์เพียงร้อยละ 31.2
ถุงยางอนามัย ร้อยละ 61.1
อุบัติการณ์ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และอัตราการใช้ถุงยางอนามัย ของนักเรียนอาชีวศึกษาและนักเรียนมัธยมศึกษาไม่แตกต่างกัน
หลายคนไม่เคยใช้ถุงยางอนามัย ร้อยละ 41.3%
ชายไทย
ประมาณ3/4 เมาสุราขณะมีเพศสัมพันธ์กับหญิงบริการ
ไม่ได้ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์กับหญิงบริการ 60%, 3.7%
ใช้ถุงยางอนามัยอย่างสม่ำเสมเมื่อมีเพศสัมพันธ์กับหญิงบริการ 27.9
ใช้ถุงยางอนามัยบางครั้ง เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับหญิงบริการ ร้อยละ 68.4
ความรู้ไม่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมของชายที่มาใช้บริการทางเพศ และการใช้ถุงยางอนามัย
ทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง สอดคล้องกับระดับความรู้ที่ต่ำ
ผู้ป่วย
กลุ่มที่ติดโรคมีอัตราการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งร้อยละ 15.8 ส่วนกลุ่มที่ไม่ติดโรคร้อยละ 21.8
วัยรุ่นหญิง
ร้อยละ 33.8 ใช้ถุงขางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์
ทหาร
ร้อยละ 65.5 ไม่ได้ใช้ถุงยางอนามัยในครั้งแรก
ร้อยละ 88.2 ของผู้ที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ขายบริการทาง
การใช้ถุงยางอนามัยเป็นประจำน้อยกว่า 5% ของประชากร (ผู้ชาย 6.6% และผู้หญิง 3.1%)
การใช้ถุงยางอนามัยควรเป็นหลักของการใช้ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แต่ก็จำเป็นต้องมีวิธีอื่นด้วย
นักเรียน/นักศึกษา
พฤติกรรมป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง
การออกกำลังกาย
การสร้างความสัมพันธ์อันดีในครอบครัว
การให้เพศศึกษาในวัยที่เหมาะสมและเหมาะสมกับสถานการณ์
การส่งเสริมและรักษาคุณค่าทางวัฒนธรรมไทย
การยอมรับทัศนคติที่ดี
การแสดงพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
มีการพูดคุยเรื่องเพศกับครอบครัว
การรับรู้ความสามารถของตนเองในการใช้ถุงยางอนามัยมาก
การปฏิบัติในการป้องกัน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียน พบว่าส่วนใหญ่นักเรียนมีการปฏิบัติตัวอยู่ในระดับดี ร้อยละ 54.0
นักศึกษาที่เข้าศึกษาหลักสูตร/โปรแกรมวิชาต่างกัน มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและที่อยู่ปัจจุบันต่างกัน มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน
นักศึกษาที่มีรายได้ของผู้ปกครองต่างกัน มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันโรค ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน
อาชีพของผู้ปกครอง ลักษณะการอยู่รวมกันของ ครอบครัวต่างกัน มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน
เพศต่างกัน มีความรู้ เจตคติเกี่ยวกับการ มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน
ระดับการศึกษาของผู้ปกครองต่างกัน มีการปฏิบัติ เกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05
แผนการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แหล่ง ข้อมูลข่าวสารต่างกัน มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ส่วนใหญ่โรงเรียนมีบทลงโทษเรื่องการกระผิดชู้สาว ร้อยละ 88.8
การปไม่ฏิบัติตามคำชักชวนของเพื่อน เช่นแต่งตัวล่อแหลมยั่วยุ ร้อยละ 59
เจตคติต่อการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของนักเรียนเอง
การรับรู้ความเชื่อมั่นในความสามารถแห่งตนต่อการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 52.2
การรับรู้ความเชื่อมั่นในความสามารถแห่งตนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง (r=0.508, p<0.001)
การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการป้องกันพฤติกรรมทางเพศที่ไม่พึงประสงค์ อยู่ในระดับปานกลาง ( x=3.26, S.D.=0.70)
วัยรุ่นหญิง
การป้องกันตนเอง
การมุ่งอนาคต
การไม่มีกิจกรรมเกี่ยวกับเรื่องเพศสัมพันธ์
การรู้เท่าทันสื่อทางเพศ
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนการแต่งงานถูกจำกัดโดยศาสนาอิสลาม
วัยรุ่นชาย
การรับรู้ประโยชน์ในการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความเชื่อมั่นความสามารถตนเองในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย
การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความเป็นเพศที่มีความเป็นชาย
ความสัมพันธ์ครอบครัวดี
การหาความรู้เรื่องเพศ และการหาความรู้การป้องกันโรคทางเพศสัมพันธ์
มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยรวมในระดับมาก
การรู้เท่าทันสื่อทางเพศ
ผู้ที่แต่งงานแล้วมีแนวโน้มที่จะมี STI น้อยกว่าผู้ที่ไม่ได้แต่งงาน (13.5%, p = .07)
แรงงาน/ลูกจ้าง
รซื้อยากับร้านขายยาเพียงอย่างเดียวและ มีทั้งไปร้านขายยา และพบแพทย์ โฆษณายาที่ใช้รักษาอาการตกขาวไม่มีผลต่อการเลือกซื้อยา
วัยรุ่น
การได้รับบความรู้ด้านเพศและการปรับใช้
การจัดกิจกรรมแวดล้อม
การได้รับความร่วมมือจากส่วนต่าง ๆ ของสังคม
ชายรักชาย
มีพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ระดับปานกลาง
สามี-ภรรยา
กลุ่มสามีที่มารับบริการฝากครรภ์พร้อมภรรยา เมยินดีรจ่ายค่าตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีและโรคซิฟิลิสอย่างน้อย 2 เท่าของราคาค่าตรวจ
แจ้งให้รักษาคู่นอนด้วย โดยเฉพาะเมื่ออายุมากกว่า 25 ปี และแต่งงานแล้ว
ผู้ป่วย
การให้คำปรึกษาด้านสุขศึกษาสามารถลดการกลับเป็น STI ซ้ำได้
ความไม่คุ้นเคยกับการใช้ถุงยางอนามัยในบริบทของเพศสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา
พฤติกรรมเสี่ยง
วัยรุ่นชาย
การชักชวนของเพื่อนให้ดื่มสุรา
การชักชวนของเพื่อนให้อ่านและดูหนังสือโป๊
การตัดสินใจดื่มสุรา
การชักชวนของเพื่อนให้ใช้ยาเสพติด
ความสะดวกใจในการพูดเรื่องเพศกับพ่อแม่
การเข้าถึงคลิปโป๊กับคู่ตนเอง
การแชร์คลิปโป๊หรือเซ็กซี่ในสื่อสังคมออนไลน์
การเข้าถึงคลิปการร่วมเพศแบบไม่เซนเซอร์
การเข้าใช้สื่อมากกว่า 6 ชั่วโมงต่อวัน
การไปเที่ยวคลับ บาร์ หรือสถานเริงรมย์
มีเพศสัมพันธ์กับหญิงบริการทางเพศ
วัยรุ่นหญิง
มีเพื่อนและอินเทอร์เน็ตเป็นผู้ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเพศศึกษา
มีคู่รักเป็นผู้ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเพศศึกษา
การอบรมเลี้ยงดูแบบเข้มงวด
การดื่มสุรา
การมีคู่รัก
ความมีอิสระในการออกจากที่พักอาศัย
ล้มเหลวในการป้องกันตนเอง
การขาดความรู้และไม่ตระหนักถึงภาวะเสี่ยง
วัยรุ่น
ระดับความรู้ต่ำ
ระดับทัศนคติต่ำ
การใช้สารเสพติด
การใช้สื่่อออนไลน์ สื่อทางเพศ
การใช้ชีวิตโดยไม่มีพ่อหรือแม่ทั้งคู่
วัยรุ่นมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันในการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และทักษะชีวิตในระดับน้อย
สิ่งแวดล้อมไม่ปลอดภัย
การขาดความเอาใจใส่ในการเลี้ยงดูบุตร
การแสดงออกทางเพศ
การมีความสัมพันธ์/การมีเพศสัมพันธ์กับบุคคลอื่นแบบกิ๊ก
จำนวนการใช้สื่อทางเพศ
การหนีออกจากบ้านในช่วงวัยรุ่น
การเที่ยวสถานบันเทิง
วัยรุ่นมีการพูดคุยเรื่องเพศกับเพื่อนและพูดคุยได้อย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา โดยการสื่อสารนั้นมีความแตกต่างระหว่างหญิงและชาย
นักเรียน/นักศึกษา
นักศึกษามีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศอยู่ในระดับปานกลาง นักศึกษาหญิงและนักศึกษาชายมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
นักศึกษาที่ไม่ได้พักอาศัยอยู่กับครอบครัวมีโอกาสเสี่ยงต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มากกว่านักศึกษาที่อาศัยอยู่กับครอบครัว 2.14 เท่า
นักศึกษาที่เคยใช้สารเสพติดมีโอกาสเสี่ยงต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มากกว่านักศึกษาที่ไม่เคยใช้สารเสพติด 0.61 เท่า
นักศึกษาดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ก่อนมีเพศสัมพันธ์มีโอกาสเสี่ยงต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มากกว่านักศึกษาที่ไม่เคยดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ก่อนมีเพศสัมพันธ์ 2.70 เท่า
ค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศที่เป็นเสรีนิยมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมที่ เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
มีความถี่ของการใช้สื่อ/แหล่งข้อมูลทางเพศในหนึ่งสัปดาห์อยู่ในกลุ่มระดับสูงร้อยละ 97.2
การไม่ได้รับการเอาใจใส่จากครอบครัว
การมีแหล่งมั่วสุ่มอยู่มาก
ร้อยละ 7.3 เคยออกไปเที่ยวตามลำพังกับเพื่อนต่างเพศที่ รู้จักกันทางอินเตอร์เน็ต
การมีประสบการณ์ทางเพศในการศึกษาของนักเรียนอาชีวะกว่าการศึกษาอื่น ๆ
ชาวเขา
มีเพศสัมพันธ์กับหญิง/ชายอื่นที่มิใช่ภรรยาหรือสามี
ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ก่อนมีเพศสัมพันธ์
ผู้ป่วย
กลุ่มที่ติดโรคร้อยละ 74.1 มีคู่นอนหลายคน กลุ่มที่ไม่ติดโรคร้อยละ 57.1 มีคู่นอนหลายคน
กลุ่มที่ติดโรค 3/4 มีเพศสัมพันธ์หลังดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
หญิงบริการ
การเคลื่อนย้ายสถานที่ทำงาน
แรงงาน
ขาดความรู้ ขาดโอกาสในการรับรู้ข้อมูล
ถูกสั่งสอนไม่ควรพูด หรือแสดงออกในเรื่องเพศ
ขาดอำนาจการต่อรอง
ประสบปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงปรารถนา
การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เป็นเรื่องไกลตัวสำหรับคู่รัก
ซื้อยารับประทานเอง รวมทั้งขอยาที่ห้องพยาบาลรับประทานเพื่อแก้อาการ และยังมีการปิดบังข้อมูลการเจ็บป่วย
หญิงตั้งครรภ์
ภาวะการเงินไม่ดี
ภาวะทางสังคมไม่ดี
ขาดความรู้เรื่องสุขภาพ
นักท่องเที่ยว
ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และมีความรู้ที่เหมาะสมเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แต่ก็ยังไม่ได้ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางเพศที่ปลอดภัย
สามี-ภรรยา
พฤติกรรมทางเพศนอกสมรสที่ไม่ปลอดภัยของหญิงแม่บ้านเอง
ความไม่คุ้นเคยกับการใช้ถุงยางอนามัยในบริบทของเพศสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประวัติการมีเพศสัมพันธ์กับโสเภณี
การรับรู้โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
อายุ
ศาสนา
การศึกษา
ระยะเวลา(ปี)การแต่งงาน
ลักษณะคู่นอนครั้งแรก
ความสัมพันธ์ระหว่างสมรส
กระบวนการจัดเกลาบทบาททางเพศสภาพในสังคมไทย
วัยรุ่นหญิง
ความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ทัศนคติต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนสมรส
อายุ
ความรู้ในการใช้การคุมกำเนิดในทางที่ผิด
คุณลักษณะด้านสังคม
หญิงสาวมีแนวโน้มที่จะมีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มากกว่าผู้หญิงที่มีอายุมาก
การศึกษาของบิดา มารดา
การรับข้อมูลข่าวสารเรื่องเพศจากคนรัก หรือเพื่อน
สัมพันธภาพในครอบครัว
การพูดคุยเรื่องเพศทางอินเตอร์เนตกับคนรัก
การรับข้อมูลข่าวสารเรื่องเพศจากพ่อแม่ ญาติ ครู หนังสือ ตำราเรียน
การที่เพื่อนสนิทเคยมีเพสสัมพันธ์
ความรัก ความใกล้ชิด สนิทสนกับคนรัก
ค่านิยมทางศาสนา
วัยรุ่นชาย
อาชีพของบิดา
สายวิชาที่กำลังศึกษา
ปัจจัยด้านการรับรู้สิ่งแวดล้อมและการขัดเกลาทางสังคมด้านครอบครัว
ประวัติการเคยใช้สารเสพติด
สถานภาพสมรส
ปัจจัยด้านบุคลิกลักษณะส่วนบุคคล
ทัศนคติที่ไม่ถูกต้องว่าการมีเพศสัมพันธ์กับเพื่อนหญิงไม่เสี่ยงต่อการติดเอดส์
นักเรียน/นักศึกษา
ครูหญิงที่มีหัวข้อสนทนาเกี่ยวกับเรื่องเพศ
เพื่อนชายในฐานะบุคคลที่อาสาสมัครได้พูดคุยเกี่ยวกับเพศ
ทัศนคติต่อเรื่องเพศ
คะแนนพฤติกรรมสูง
การรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ค่าใช้จ่ายต่อเดือนของนักศึกษา
การไม่ได้รับการเอาใจใส่จากครอบครัว
การอยู่หอพัก
การที่มีแหล่งมั่วสุมอยู่มาก
วัยรุ่น
วัยรุ่นที่มีประสบการณ์ทางเพศ มีคะแนนเฉลี่ยความรุนแรงของการรับรู้และความเสี่ยงในการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงกว่าผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ทางเพศ (p <.05)
เพศ
ทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ความเท่าเทียมกันทางเพศ
เจตคติ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การขัดเกลาเรื่องทางเพศในครอบครัว
อิทธิพลของกลุ่มอ้างอิง
เด็กเร่ร่อน
ถูกสังคมมีประทับตราว่าเป็นเด็กเกเร เด็กติดยา เด็กที่ก่อปัญหาให้แก่สังคม
หญิงตั้งครรภ์
รายได้ ของครอบครัว
การรับรู้ภาวะสุขภาพ
สามี-ภรรยา
อำนาจการต่อรอทางเพศ
จำนวนปีการสมรส
ความแตกต่างทางอายุระหว่างสามีและกรรยา
บทบาททางเศรษฐกิจของสตรีเอง
บุคลิกภาพของสตรีเอง
การขาดความเข้าใจในอาการเริ่มแรกและการรักษาที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของสตรีเอง
เสี่ยงกับความสัมพันธ์ที่ร้าวฉานในครอบครัว หากปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์กับสามีโดยที่ตนไม่ทราบซัดเจนว่าสามีติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การรับรู้ต่ำกว่าความเป็นจริงของพฤติกรรมทางเพศนอกสมรสของสามี
การให้ความรู้
ลูก
บิดามีบทบาทการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาแก่บุตรชายวัยรุ่นในระดับปานกลางร้อยละ 65.1
พ่อแม่ชาวไทยส่วนใหญ่ไม่ได้สอนลูกเกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา
กลุ่มชายรักชาย
สถานบริการสุขภาพ
สังคมออนไลน์
กลุ่มเพื่อน
วัยรุ่น
ควรเรียนรู้วิธีมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยและทักษะชีวิตอื่น ๆ
แม่บ้าน
ควรรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวิธีการเจรจาเรื่องเพศที่ปลอดภัยกับสามี
ความรู้และทัศนคติในเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นักเรียน
คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์อยู่ในระดับน้อย
ความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 75.3
ความรู้เรื่องการคุมกําเนิดการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และผลการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเพียงพอ (มากกว่าร้อยละ 70.0)
เจตคติต่อการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ในวัยเรียน พบว่าส่วนใหญ่นักเรียน มีเจตคติระดับดี ดี ร้อยละ 74.5
มีค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องเพศศึกษา 6.34 จากคะแนนเต็ม 11 คะแนน
เพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่เชื่อว่าการใช้ถุงยางอนามัยเป็นวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ที่มีประสิทธิภาพ
มีพฤติกรรมสุขภาพด้านความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง
มีพฤติกรรมสุขภาพด้านเจตคติและการปฏิบัติ เกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับดี
แผนการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แหล่ง ข้อมูลข่าวสารต่างกัน มีความรู้ เจตคติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
เพศต่างกัน มีความรู้ เจตคติเกี่ยวกับการ ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แตกต่างกัน
ระดับการศึกษาของผู้ปกครองต่างกัน มีความรู้ เจตคติ เกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน
อาชีพของผู้ปกครอง ลักษณะการอยู่รวมกันของ ครอบครัวต่างกัน มีความรู้ เจตคติ เพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน
ความรู้กับเจตคติ ความรู้กับการปฏิบัติ และเจตคติกับการปฏิบัติเกี่ยวกับการ ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
นักศึกษามีความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง , 57.6%
นักศึกษาที่มีเพศ และรายได้ของ นักศึกษาต่างกัน มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 แต่เจตคติและการปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน
นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและที่อยู่ปัจจุบันต่างกัน มีความรู้และเจตคติเกี่ยวกับการป้องกันโรค ติดต่อทางเพศสัมพันธ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
นักศึกษาที่เข้าศึกษาหลักสูตร/โปรแกรมวิชาต่างกันความรู้และเจตคติเกี่ยวกับ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน
นักศึกษาที่มีสถานภาพสมรสของ บิดาและมารดาต่างกัน และระดับการศึกษาของผู้ปกครองต่างกัน มีความรู้ เจตคติ และ การปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน
นักศึกษาที่มีรายได้ของผู้ปกครองต่างกัน มีเจตคติเกี่ยวกับการป้องกันโรคติต่อทางเพศสัมพันธ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ความหมายของพฤติกรรมทางเพศ
ความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ 3.การมีพฤติกรรมที่ไม่สำส่อนทางเพศ
การไม่มีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์/โรคเอดส์
การมีพฤติกรรมที่ไม่สำส่อนทางเพศ
ความสะอาดของร่างกาย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดชุมพรร้อยละ 81.0 มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับมาตรฐานความรู้ของกระทรวงศึกษาธิการ
นักเรียนร้อยละ 80 ขาดความรู้ในเรื่องการคุมกำเนิด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์
ร้อยละ 96.7 ทัศนคติเหมาะสม
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในจังหวัดชุมพร มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศอยู่ใน ระดับต่ำเมื่อ ร้อยละ 75.3 ยังไม่มีความรู้ในเรื่องการคุมกำเนิด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ มีทัศนคติเหมาะสมเพียงร้อยละ 50.0 สำหรับพฤติกรรมทางเพศพบนักเรียนร้อยละ 89.7 มีพฤติกรรมเสี่ยงต่ำ
การรับรู้ความรุนแรงของการตั้งครรภ์และการติดโรคนั้นมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีทัศนคติเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในเกณฑ์ดี นักศึกษาชายกับนักศึกษาหญิง มีทัศนคติเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำแต่มีทัศนคติเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยู่ในเกณฑ์ดี
ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยรวมอยู่ในระดับต่ำ
ชาวเขา
ระดับความรู้ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในระดับปานกลาง 63.0 %
ระดับทัศนคติต่อการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 63.0 %
วัยรุ่น
จรรยาวิพากษ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเพศโดยส่วนรวมของวัยรุ่นในจังหวัด ชลบุรีอยู่ในระดับสูง
วัยรุ่นหญิงมีจรรยาวิพากษ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเพศสูงกว่าวัยรุ่นชาย
วัยรุ่นในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีจรรยาวิพากษ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเพศสูงกว่าวัยรุ่นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
วัยรุ่นที่ไม่มีประสบการณ์ในสถานเริงรมย์มีจรรยาวิพากษ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเพศสูงกว่าวัยรุ่นที่มีประสบการณ์มากและวัยรุ่นที่มีประสบการณ์น้อย
การศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศระดับชั้นเรียนและประสบการณ์ในสถานเริงรมย์ พบว่าไม่มีปฏิสัมพันธ์กัน
วัยรุ่นชายมีการรับรู้ว่าตัวเองไม่เสี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์จากคนที่คบแบบแฟนและมักไม่ใช้ถุงยางอนามัย
แต่รับรู้ว่าตัวเองเสี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์จากการไม่ใช้ถุงยางอนามัยกับผู้หญิงเที่ยวกลางคืนและมักใช้ถุงยางอนามัย
ผู้ป่วย
คะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ของกลุ่มที่ติดโรคแตกต่างจากกลุ่มที่ไม่ติดโรคเล็กน้อย (14.8 และ 14.7 ตามลำดับ)
ความรู้ด้านเกี่ยวกับและการดูแลตนเองขณะติดเชื้อโรคหนองใน หนองในเทียมและซิฟิลิส มีความรู้ในระดับมาก ร้อยละ 54.50 มีความรู้ในระดับปานกลาง ร้อยละ 43.60 และมีความรู้ในระดับน้อย ร้อยละ 1.80
หญิงบริการ
บางคนไม่รู้จักโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคอื่นเลยนอกจากเอดส์
เคยเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร้อยละ 57.5
ข้อมูลได้จากสื่อบุคคลมากที่สุด
มีความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับ STD มากขึ้นหรือรู้สึกว่าตัวเองมีเซ็กซ์ทีปปลอดภัยมากขึ้น (r=.171, p=.013)
ชายที่มาสถานบริการ
ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของชายที่ใช้บริการ ส่วนใหญ่รู้จักเฉพาะโรคเอดส์ โรคติดต่ออื่นๆ ทางเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคพยาธิในช่องคลอดรู้จักน้อยมาก