Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินพัฒนาการและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในเด็กรายนี้ - Coggle Diagram
การประเมินพัฒนาการและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในเด็กรายนี้
Mild malnutrition
เด็กอายุ1ปีมีภาวะขาดสารอาหารเล็กน้อย
ข้อปฏิบัติการให้อาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของเด็กเล็ก (อายุ 1-5 ปี)
ให้อาหารมื้อหลัก 3 มื้อ และอาหารว่างไม่เกิน 2 มื้อต่อวัน
ให้อาหาครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย เป็นประจำทุกวัน
ใหนมแม่ต่อเนื่องถึง 2 ปี เสริมนมสดรสจืดวันละ 2-3 แก้ว
ฝึกให้กินผักและผลไม้จนเป็นนิสัย
ให้อาหารว่างที่มีคุณภาพ
ฝึกฝนให้กินอาหารรสรรมชาติ ไม่หวานจัด มันจัด และเค็มจัด
7.ให้อาหารสะอาดและปลอดภัย
ให้ดื่มน้ำสะอาด
9.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มปรุงแต่งรสหวานและน้ำอัดลม
ฝึกฝนวินัยการกินอย่างเหมาะสมตามวัยจนเป็นนิสัย
เล่นกับลูก สร้างความผูกพัน หมั่นติดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ส่วนสูง
แรกเกิดเด็กมีส่วนสูง50 เซนติเมตร
1 ปี ควรเพิ่มเป็น75 เซนติเมตร
ชวนลูกไปออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเป็นประจำ
พาลูกเข้านอนก่อน 3 ทุ่ม
ทานโปรตีน เช่น นม เนื้อสัตว์ ไข่
งดการดื่มน้ำอัดลม และทานขนม Snack
ทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
ทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
สูตรที่ใช้ในการคำนวณน้ำหนัก
สรุปสูตรที่ใช้คำนวณนำหนักจากอายุ (กิโลกรัม)
อายุ 3-12 เดือน = (อายุ((คือน)+9) /2
อายุ 1-6 ปี=(อายุ(ปี) X 2)+8
อายุ 7-12 ป = (อายุ(ปี) X 7-5) / 2
น้ำหนักปกติของเด็ก1ปี
น้ำหนักเด็กเพศชาย (กก.)
8.3 - 11.0
น้ำหนักเด็กเพศหญิง (กก.)
7.7 - 10.5
อาหารเพิ่มน้หนักลูก1ขวบ
อาหารมื้อหลัก 3 มื้อ ควรมีสารอาหารครบถ่วน ดัดแปลงจากอาหารของผู้ใหญ่โดยทำให้สุกอ่อนนุ่ม ชื้นเล็กเคี้ยวได้ง่าย รสไม่จัด
แต่ละมื้อประกอบด้วยข้าวสวยหรืออาหารประเภทแป้ง 1 ทัพพี เนื้อสัตว์ประมาณ 1 - 1ครึ่ง ช้อนกินข้าว ต้องให้ลูกกินไข่เป็นประจำ
ใช้น้ำมันพืชที่มีคุณคำทางโภชนการดีในการประกอบอาหาร
เช่น น้ำมันถั่วเหลืองและน้ำมันรำข้าว
ให้ผักใบเขียว เช่น ตำลึง ผักบุ้ง ฟักทองหรือแครอกสลับกัน
ให้ผลไม้เป็นอาหารว่างวันละ 1 - 2 มื้อ
แก้ไขปัญหาการยืนในเด็ก
การส่งเสริมพัฒนาการ
จัดให้ลูกอยู่ในท่ายืน เกาคุณพ่อคุณแม่ไว้ แล้วค่อยๆเลื่อนมือลูกไปเกาะเครื่องเรือนที่มั่นคง เช่น โต๊ะหรือเก้าอี้
เมื่อลูกน้อยเกายืน และสามารถรั้งตัวขึ้นยืนเองได้ชำนาญแล้วทีนี่เขาก็จะสนุกกับการเกาะเดินไปรอบ ๆโดยตัวกระตุ้นสำคัญที่ขาดไม่ได้ก็คือเสียงเชียร์จากพ่อแม่ ของเล่นตัวโปรด หรือข้าวของแปลก ๆ ใหม่ ๆ เป็นของหลอกล่อให้หนูน้อยเดินมาหา
ของแปลก ๆ ใหม่ ๆ เป็นของหลอกล่อให้หนูน้อยเดินมาหาจากความมั่นใจหากพ่อแม่หรือคนเลี้ยง ได้ช่วยจับมือฝึกเขาเดินทุกวัน ๆ
พ่อแม่จับมือทั้งสองข้างของลูก ให้ลูกอยู่ข้างหน้ หันหน้าออก แล้วพ่อแม่อยู่ข้างหลัง แล้วค่อยๆ ให้ลูกก้าวไปข้างหน้ที่ละก้าว พ่อแม่ก็ค่อย ๆ เดินตาม แต่ต้องระวังจะเหยียบเท้าน้อย ๆ ของลูกด้วย ให้ลูกพาพ่อแม่เดินไปในที่ที่เขาสนใจอยกดูหรืออยากไป (ถ้าเด็กคนไหนยังทรงตัวได้ไม่ดีแนะนำให้จับรักแร้แทนจับมือ)
สำหรับเด็กที่เริ่มตั้งไข่ได้ หรือยืได้บ้างแล้ว ให้พ่อแม่หันหนเข้าหาลูก ยืนห่างจากลูกไม่กี่ก้าวและให้ลูกเดินมาหา อยลืมส่งเสียงเรียกชื่อลูก เชียร์ดัง ๆ และถลูกทำได้ก็ปรบมือให้กำลังใจและยิ้มกว้าง ๆ ให้ด้วยเพื่อสร้างความมั่นใจให้ลูก เมื่อลูกเริ่มเดินเก่งก็ค่อย ๆปล่อยมือและแอบ
ถอยหลังไปที่ละนิด ๆ เพื่อให้เขาเดินได้ระยะที่ไกลขึ้น
ในการสอนลูกหัดเดินนั้น ควรให้ลูกเดินเท้าเปลดีที่สุดเพราะเด็กจะได้รับความรู้สึกจากฝ่าเท้าซึ่งมีผลต่อการทรงตัว ดังนั้น การเดินในบ้าน ควรให้เขาฝึกเดินที่พื้นเรียบ ไม่ขรุขระ แข็ง